กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แผนงานเหล้า ปี 2561 กองทุนสุขภาพตำบลอบต.สหธาตุ
อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
ประจำปีงบประมาณ 2561

stars
ข้อมูลแผนงาน
ชื่อแผนงาน แผนงานเหล้า ปี 2561 กองทุนสุขภาพตำบลอบต.สหธาตุ
ประเด็นแผนงาน แผนงานสุรา
องค์กร กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สหธาตุ
ปีงบประมาณ 2561
stars
สถานการณ์ปัญหา
สถานการณ์ปัญหาแบบสอบถาม
navigate_before 2560 navigate_next
ขนาด
1 ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชน อายุ 15- 25 ปี ในชุมชน

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี ในชุมชน ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
จำนวนเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี ในชุมชนทั้งหมด
20.00
2 ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชนที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
จำนวนผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชนทั้งหมด
40.00
3 ค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อเดือน

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของท่านในการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
1,800.00
4 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนกลุ่มหรือเครือข่าย เพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนของท่าน
70.00
5 ปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของประชาชนในชุมชนตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป (มิลลิลิตร) คำนวณปริมาตรไม่คำนึงถึงดีกรี

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
ปริมาณเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ท่านดื่มต่อสัปดาห์
100.00
6 งบประมาณต่อปีที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนเงินที่ใช้เพื่อการจัดการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนของท่าน
2,000.00

 

stars
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ตัวชี้วัดขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี ในชุมชน

ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชน อายุ 15- 25 ปี ในชุมชน

20.00 15.00
2 เพื่อลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

40.00 25.00
3 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อเดือน

ค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อเดือน

1,800.00 1,200.00
4 เพื่อเพิ่มกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

70.00 100.00
5 เพื่อลดปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประชาชนในชุมชน

ปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของประชาชนในชุมชนตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป (มิลลิลิตร) คำนวณปริมาตรไม่คำนึงถึงดีกรี

100.00 80.00
6 เพื่อลดงบประมาณที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

งบประมาณต่อปีที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

2,000.00 4,000.00
stars
แนวทาง/วิธีการสำคัญ
แนวทางวิธีการสำคัญ
1 เพื่อสกัดกั้นนักดื่มรายใหม่ในชุมชน โดยการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลดการถึงแหล่งจำหน่าย
  1. จัดตั้งทีมเฝ้าระวัง สำรวจและค้นหากลุ่มเสี่ยงหรือพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมของเด็กและเยาวชนในชุมชน
  2. จัดทีมอาสาสมัครเพื่อการคัดกรอง (กลุ่มเสี่ยง กลุ่มดื่ม) และการบำบัดอย่างย่อในชุมชน
  3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้างสมรรถนะแห่งตนเพื่อฝึกความสามารถในการควบคุมตนเอง/ทักษะชีวิตในการหลีกเลี่ยงสิ่งยั่วยุ/การตัดสินใจ/การปฏิเสธ/การจัดการความเครียดและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
  4. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเห็นคุณค่าแห่งตน/การใช้เวลาว่าง/การสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน
  5. ขอความร่วมมือร้านค้าชุมชนไม่จำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้แก่เด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 20 ปี และห้ามขายตามเวลาที่กฎหมายกำหนด
2 2. เพื่อจัดบริการช่วยเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มที่ดื่มแบบเสี่ยง/แบบอันตรายและแบบติดสุราเรื้อรัง

เกณฑ์การวินิจฉัยการติดสุรา     • ต้องเพิ่มปริมาณการดื่มมากขึ้น     • มีอาการทางร่างกายเมื่อไม่ได้ดื่ม     • ควบคุมการดื่มไม่ได้     • หมกมุ่นอยู่กับกับการดื่ม     • พยายามเลิกหลายครั้งแล้ว แต่เลิกไม่สำเร็จ     • มีความบกพร่องในหน้าที่ทางสังคม/การงาน     • ยังคงดื่มอยู่ทั้งๆ ที่มีผลเสียเกิดขึ้นแล้ว

วิธีการ

  1. เน้นการค้นหาและวินิจฉัยผู้มีปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ (โดยเฉพาะการดื่มแบบเสี่ยงและแบบอันตราย) ร่วมกับการทำฐานข้อมูล ของผู้ดื่มในชุมชนที่ต้องการเลิก หรือ พยายามเลิกแล้วไม่สำเร็จ
  2. การดำเนินงานเชิงรุก เช่น การจัดตั้งหน่วยบริการช่วยเลิกตระเวนบริการในชุมชน เช่น Mobile Clinic และการบำบัดแบบสั้น ที่เน้นการดูแลให้คำแนะนำเบื้องต้นแก่ผู้ดื่มแอลกอฮอล์
  3. การพัฒนาศักยภาพทีมผู้รับผิดชอบงาน โดยสามารถใช้เครื่องมือในการคัดกรองชนิดต่างๆ การติดตามเยี่ยมเยียนผู้มารับบริการในกลุ่มที่ดื่มแบบเสี่ยง/แบบอันตราย/แบบติด
  4. การจัดบริการส่งต่อผู้ดื่ม ที่มีอาการทางจิตประสาทและไม่สามารถบำบัดได้ในชุมชนไปยังหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่ หรือผู้ป่วยที่จำเป็นต้องใช้ยานานในขณะถอนพิษสุรา โดยเน้นการรักษาระยะยาวสำหรับผู้ที่ติดสุราเพื่อไม่ให้กลับไปใช้สุราอีก
3 พัฒนาทางเลือกในการช่วยลด ละหรือเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตามบริบทชุมชน เช่น หมู่บ้านรักษาศีลห้า
  1. การรวมกลุ่มของผู้รู้ ปราชญ์ชุมชน ในการพัฒนาทางเลือกเพื่อช่วยเลิกที่สอดคล้องกับบริบทชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น
  2. พัฒนาทีมงานจิตอาสาในการค้นหาผู้ดื่มที่สร้างปัญหาและทำให้เกิดผลกระทบในชุมชน
  3. การออกแบบโปรแกรมที่ดำเนินการโดยชุมชน เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดื่มของบุคคล
4 เพื่อสร้างและพัฒนามาตรการควบคุมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน ทั้งผู้บริโภคและผู้ขาย
  1. มีคณะกรรมการชุมชน ที่ทำหน้าที่กำหนด/ประกาศ กฎ กติกา และมาตรการควบคุมการดื่มเครื่องดื่มในชุมชน เข่น งดดื่มในงานบุญ งานวัด งานแต่ง งานประเพณี และเทศกาลรื่นเริง
  2. การประกาศและการบังคับใช้ กฎ กติกา และมาตรการควบคุมทั้งการบริโภคและการจำหน่ายในชุมชน เช่น การไม่ขายให้เด็กและเยาวชน และขายตามช่วงเวลาที่กฎหมายกำหนดเท่านั้น
  3. มีกรรมการชุมชนทำหน้าที่ติดตามประเมินผล การปฏิบัติตามมาตรการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
  4. กำหนดมาตรการชุมชนโดยการไม่รับการอุปถัมภ์กิจกรรมด้านกีฬาหรือด้านศิลปวัฒนธรรมที่มาจากอุตสาหกรรมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  5. ให้ผู้มีอำนาจตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องมีอำนาจเพิกถอนใบอนุญาต หรือสั่งปิดร้านจำหน่ายสุราที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย
  6. สนับสนุนให้ดื่มและจำหน่ายเครื่องดื่มไร้แอลกอฮอล์ (nonalcoholic cocktail) ในทุกกิจกรรมของชุมชน
5 เพื่อลดความรุนแรงจากเหตุการณ์ที่เกี่ยวเนื่องกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (เช่น การเกิดอุบัติเหตุจราจร การทะเลาะวิวาท การทำร้ายร่างกาย)
  1. การกำกับควบคุมโดยคณะกรรมการชุมชน เช่น มาตรการในการป้องกันปัญหาจากการขับรถขณะเมาสุรา (กฎการดื่มไม่ขับ) การมีจุดสุ่มตรวจแอลกอฮอล์ในชุมชน การติดตามประเมินความเรียบร้อยในชุมชนจากเหตุทะเลาะวิวาท หรือ การทำร้ายร่างกายจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  2. การสร้างเครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน หรือ สายด่วนชุมชน กรณีเกิดการก่อเหตุความรุนแรงในครัวเรือนที่มาจากการดื่มสุรา
  3. การจัดกองทุนหมู่บ้านเพื่อการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ โดยผู้ก่อความเสียหายมีส่วนร่วมในการจ่ายค่าชดใช้ (การลงโทษทางสังคม)
  4. กำหนดมาตรการ การเพิกถอนหรือระงับใบขับขี่ การปรับ การให้ทำงานรับใช้ชุมชนเมื่อดื่มแล้วขับ ถ้าระดับแอลกอฮอล์เกินกำหนด เช่น หากผู้ขับขี่ที่อายุไม่ถึง 20 ปีถ้ามีปริมาณแอลกอฮอล์ 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ให้ถือว่าเมาสุรา
paid
งบประมาณที่ตั้งไว้ตามแผนงาน (บาท)
42000.00
stars
โครงการที่ควรดำเนินการ
ชื่อโครงการย่อยประเภทผู้รับผิดชอบงบประมาณที่ตั้งไว้ (บาท)
1 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ หมู่ที่ 1 คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 6,000.00 find_in_pageพัฒนาโครงการ
2 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ หมู่ที่ 3 คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 3 6,000.00 find_in_pageพัฒนาโครงการ
3 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ หมู่ที่ 4 คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 6,000.00 find_in_pageพัฒนาโครงการ
4 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ หมู่ที่ 5 คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 6,000.00 find_in_pageพัฒนาโครงการ
5 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ หมู่ที่ 6 คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 6,000.00 find_in_pageพัฒนาโครงการ
6 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ หมู่ที่ 7 คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 6,000.00 find_in_pageพัฒนาโครงการ
stars
โครงการที่ขอการสนับสนุนจากกองทุน
ปีงบประมาณชื่อพัฒนาโครงการประเภทองค์กรรับผิดชอบงบประมาณ (บาท)
1 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 1 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านธาตุเทิง หมู่ที่ 1 6,000.00 link
2 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 3 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านธาตุกลาง หมู่ที่ 3 6,000.00 link
3 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 4 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านธาตุลุ่ม หมู่ที่ 4 6,000.00 link
4 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 5 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านธาตุลุ่ม หมู่ที่ 5 6,000.00 link
5 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 6 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านโนนกอก หมู่ที่ 6 6,000.00 link
6 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 7 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านธาตุวาที หมู่ที่ 7 6,000.00 link
รวม 36,000.00
stars
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อติดตาม
ปีงบประมาณชื่อติดตามโครงการประเภทองค์กรรับผิดชอบงบประมาณ (บาท)
1 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 1 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านธาตุเทิง หมู่ที่ 1 6,000.00 link
2 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 3 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านธาตุกลาง หมู่ที่ 3 6,000.00 link
3 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 4 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านธาตุลุ่ม หมู่ที่ 4 6,000.00 link
4 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 5 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านธาตุลุ่ม หมู่ที่ 5 6,000.00 link
5 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 6 คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพบ้านโนนกอก หมู่ที่ 6 6,000.00 link
6 2561 โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 7 คณะกรรมการหมู่บ้านธาตุบ้านธาตุวาที หมู่ที่ 7 6,000.00 link
รวม 36,000.00