กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ


“ จัดอบรมทำพิมเสนน้ำและยาหม่องตะไคร้หอมเพื่อสุขภาพ ม.5 บ้านบาโงฆาดิง ”

ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอสน๊ะ อินมิน

ชื่อโครงการ จัดอบรมทำพิมเสนน้ำและยาหม่องตะไคร้หอมเพื่อสุขภาพ ม.5 บ้านบาโงฆาดิง

ที่อยู่ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-LNK-2-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กันยายน 2561 ถึง 26 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"จัดอบรมทำพิมเสนน้ำและยาหม่องตะไคร้หอมเพื่อสุขภาพ ม.5 บ้านบาโงฆาดิง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
จัดอบรมทำพิมเสนน้ำและยาหม่องตะไคร้หอมเพื่อสุขภาพ ม.5 บ้านบาโงฆาดิง



บทคัดย่อ

โครงการ " จัดอบรมทำพิมเสนน้ำและยาหม่องตะไคร้หอมเพื่อสุขภาพ ม.5 บ้านบาโงฆาดิง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-LNK-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กันยายน 2561 - 26 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,045.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากบ้านบาโงฆาดิง เป็นแหล่งพันธูกรรมพืชที่สำคัญแห่งหนึ่งของชุมชนโดยเฉพาะพืชสมุนไพรซึ่งมีเป็นจำนวนมากพอสมควร และคนในพื่้นที่รู้จักนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ทางด้านการประกอบอาหาร เครื่องสำอาง และยารักษาโรค มาตั้งอดีตกาล บ้านบาโงฆาดิงจึงได้จัดทำโครงการจัดพิมเสนน้ำและยาหม่องตะไคร้หอมเพื่อสุขภาพขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพพืชสมุนไพรที่มีในท้องถิ่นให้สามารถไปใช้ประโยชน์และเป็นยารักษาโรคเบื้องต้นได้ สนับสนุนการค้นหาองค์ความรู้และภูมิปํญญาท้องถิ่น เพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนได้ อีกทั้งยังสามารถสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ส่งเสริมการพึ่งตนเองด้านสุขภาพด้านการใช้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน
  2. เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนพึ่งตนเอง
  3. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นพืชสมุนไพรในชุมชนบ้านบาโงฆาดิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำพิมเสนน้ำและยาหม่องเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการผลิดและการนำประยุกต์ใช้ 2.ผู้สูงอายุและวัยทำงานสามารถป้องกันการใช้ยาที่มากเกินไปควบคู่กับการนำสมุนไพรในการบำบัดรักษาโรคปวดเมื่อยได้ 3.ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและวัยทำงานอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาไทยให้กับเด็กรุ่นหลัง 4.สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้ตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์

วันที่ 19 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.การบูร จำนวน 1 กิโลกรัมๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 1,200.-บาท 2.พิมเสน จำนวน 1 กิโลกรัมๆ ละ 1,800 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 3.เมลทอล จำนวน 1 กิโลกรัมๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท 4.พาราฟิน จำนวน 500 กรัมๆ ละ 280 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท 5.วาสลีน จำนวน 500 กรัมๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท 6.ผงการบูร จำนวน 250 กรัมๆ ละ 18 บาท เป็นเงิน 45 บาท 7.น้ำมันสกัดเย็น จำนวน 2 กิโลกรัมๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 500 บาท 8.น้ำมันกานพลู จำนวน 2 กรัมๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 120 บาท 9.น้ำมันอบเชย จำนวน 2 กรัมๆ ละ 175 บาท เป็นเงิน 350 บาท 10.ขี้ผึ้งบริสุทธิ์ จำนวน 50 กรัมๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 750 บาท 11.ขวดแก้ว/น้ำมันเหลือง จำนวน 60 ใบๆ ละ 8 บาท เป็นเงิน 480 บาท 12.ขวดแก้วยาหม่อง จำนวน 60 ใบๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 600 บาท รวมเป็นเงิน 9,445 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดซื้อวัสดุเพื่อใช้ในการจัดทำพิมเสนน้ำและยาหม่องตะไคร้หอม

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำพิมเสนน้ำและยาหม่องเพื่อสุขภาพ

วันที่ 26 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่า่ตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คนๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท 4.ค่าเอกสาร จำนวน 60 ชุดๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 5.ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้ายๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท รวมเป็นเงิน 11,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนสามารถส่งเสริมการพึ่งตนเองด้านสุขภาพในการนำพืชสมุนไพรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์และประชาชนสามารถสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้พืชสมุนไพรสู่รุ่นลูกหลานต่อไป

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ส่งเสริมการพึ่งตนเองด้านสุขภาพด้านการใช้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่พึ่งตนเองด้านสุขภาพด้านการใช้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนพึ่งตนเอง
ตัวชี้วัด : การใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนพึ่งตนเอง
0.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้เกิดการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นพืชสมุนไพรในชุมชนบ้านบาโงฆาดิง
ตัวชี้วัด : เกิดการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นพืชสมุนไพรในชุมชนบ้านบาโงฆาดิง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ส่งเสริมการพึ่งตนเองด้านสุขภาพด้านการใช้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนพึ่งตนเอง (3) เพื่อสนับสนุนให้เกิดการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นพืชสมุนไพรในชุมชนบ้านบาโงฆาดิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำพิมเสนน้ำและยาหม่องเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


จัดอบรมทำพิมเสนน้ำและยาหม่องตะไคร้หอมเพื่อสุขภาพ ม.5 บ้านบาโงฆาดิง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-LNK-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอสน๊ะ อินมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด