กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนิน โครงการรักลูกผูกรักด้วยวัคซีนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายและตรงตามวัตถุประสงค์ และผู้เข้าร่วมโครงการ ได้ความรู้และพบว่าเด็กแรกเกิด ถึง ๕ ปี จำนวน ๔๒๙ คน เด็กที่รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ จำนวน ๑๔๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๘ เพื่อเป็นการป้องกัน ลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ได้ลดภาระและค่าใช้จ่ายของครอบครัวและสังคมด้านการรักษาพยาบาล ได้ร่วมมือกับ อสม. เพื่อค้นหาเด็กที่ได้รับวัคซีนยังไม่ครบตามเกณฑ์ อีกทั้งเป็นการความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะและชุมชน จากโครงการมีความพึงพอใจจากแบบประเมินหลังจากดำเนินโครงการ มีดังนี้ ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 100 มีช่วงอายุระหว่า 35- 40 ปี มีจำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 90 และดับการศึกษา ระดับประถมศึกษา มีจำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 84 ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงาน โครงการ โดยภาพรวมอยู่ที่ค่าเฉลี่ย 4.06 จะเห็นได้ว่ามีการดำเนินงานโครงการอยู่ในระดับ มาก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง(คน)
20.00 20.00

 

2 เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : จำนวนแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน(คน)
20.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง (2) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังตลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh