กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

3.1 มีการประชุมเพื่อติดตามสถานการณ์แมงกะพรุนในพื้นที่ ณ สสอ.สงขลา   3.2 สำนักระบาดวิทยาให้ความรู้การเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากพิษของแมงกะพรุน แก่หน่วยกู้ชีพ
    เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร้านค้า ผู้ประกอบการบริเวณชายหาด   3.3 ขอความอนุเคราะห์กองวิชาการและแผนงานในการประชาสัมพันธ์ฝ่ายสื่อต่างๆ   3.4 ลงพื้นที่เพื่อสอบสวนโรคในผู้ที่สัมผัสพิษของแมงกะพรุน   3.5 ประสานงานกับสำนักปลัดในการประชาสัมพันธ์ฝ่ายสื่อต่างๆ เช่น ไวนิล รถประชาสัมพันธ์   3.6 คำสั่งดำเนินการจัดทำป้ายไวนิลให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันแมงกะพรุนและจัดทำธงเตือนระวัง     แมงกะพรุน โดยใช้งบประมาณจากโครงการตอบโต้ภาวะทางสุขภาพ   3.7 ประสานงานกับหน่วยกู้ชีพในการจัดเตรียมน้ำส้มสายชูเพื่อป้องกันพิษจากแมงกะพรุน   3.8 ดำเนินการจัดซื้อหน้ากาก เพื่อสนับสนุนให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงภายในเขตเทศบาล ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก   3.9 ให้ความรู้ประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลาเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น วิทยุชุมชน ป้ายไฟวิ่ง ให้ความรู้อาสาสมัครชุมชน ผู้ที่ดูแลผู้ป่วยติดเตียง   3.9 ติดตามเยี่ยมประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนและสนับสนุนหน้ากากให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงร่วมกับผู้บริหารเทศบาลนครสงขลา   3.10 ติดตามสถานการณ์หมอกควัน เพื่อวางแผนการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1. สามารถดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
0.00

4.1 สามารถประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันพิษของแมงกะพรุนได้อย่าง
    รวดเร็วและทันท่วงที ผ่านสื่อต่างๆ เช่น วิทยุชุมชน อสม. และป้ายไวนิลเตือนภัย   4.2 สามารถดำเนินการจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ เพื่อเตือนภัยแมงกะพรุนและความรู้เกี่ยวกับการ     ป้องกันการบาดเจ็บจากการสัมผัสพิษของแมงกะพรุนบริเวณชายหาด เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน
    ในเขตเทศบาลและนักท่องเที่ยว   ๔.๓ ดำเนินการจัดทำธงเตือนภัยบริเวณชายหาด ทำให้ลดอัตราการป่วยและภัยจากพิษของแมงกะพรุน

2 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2. ลดอัตราป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคและภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ
0.00 0.00

๔.4 ไม่พบรายงานผู้สัมผัสพิษจากแมงกะพรุนเพิ่ม   4.5 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากฝุ่นละอองขนาดเล็กและได้รับการสนับสนุนหน้ากากเพื่อป้องกันอันตราย   4.6 ไม่พบรายงานผู้ที่ได้รับอันตรายหรือภาวะแทรกซ้อนของภาวะหมอกควันจากโรงพยาบาลสงขลา

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65000 65000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 65,000 65,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน  และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่ (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh