กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
80.00 90.00

 

 

 

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
60.00 70.00

 

 

 

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
60.00 70.00

 

 

 

4 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
60.00 70.00

 

 

 

5 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
20.00 25.00

 

 

 

6 เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
30.00 40.00

 

 

 

7 เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกิจกรรมในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
80.00 90.00

 

 

 

8 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
60.00 70.00

 

 

 

9 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มสตรีมีการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพร่างกายแข็งแรง
ตัวชี้วัด : -กลุ่มสตรี-แม่บ้านได้รู้จักการออกกำลังกายที่ถูกวิธี เพื่อทำให้ร่างกายแข็งแรง -กลุ่มสตรี-แม่บ้านได้ร่วมกันทำกิจกรรมในเวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์ -ลดปัญหาด้านสุขภาพได้ในระยะยาว
80.00