- ผลการดำเนินงาน
1.1 มีการจัดทำเวทีประชาคมเพื่อการต่อยอดการพัฒนาการดำเนินงาน ปิงปอง 7 สี ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้น
ไป ในวันที่ 2 ธันวาคม 2559 ตามเอกสารที่แนบมา
1.2 มีการคัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ และได้แจ้งผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงให้กับ
กลุ่มเป้าหมาย พร้อมแนะนำ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ตามแผนการดำเนินงานตั้งแต่ ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560
1.3 มีการจัดอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพเพื่อให้ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง ในวันที่ 16 - 17 มิถุนายน
2560 ตามรายชื่อเอกสารที่แนบมา
สรุปผลการดำเนินงาน
ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป มีทั้งหมด 110 คน คิดเป็น 34.95 % โดยในจำนวนนี้ที่ได้รับการคัดกรอง HT ,DM ทั้งหมด 110 คน คิดเป็น 95.45 % โดยจากการคัดกรอง HT,DM พบว่า
ผลการคัดกรองเบาหวาน
1 กลุ่มปกติจำนวน 90 คน ร้อยละ 81.81 %
2 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 7 คน ร้อยละ 6.36 %
3 กลุ่มสงสัยเป็นโรค 5 คน ร้อยละ 4.54 %
4 กลุ่มป่วยเบาหวาน 6 คน ร้อยละ 3.63 มีภาวะแทรกซ้อน
5 กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 4 คน ร้อยละ 3.63
ผลการคัดกรองความดันโลหิตสูง
1 กลุ่มปกติ 8 คน ร้อยละ 7.27
2 กลุ่มเสี่ยงแฝง ( ความดันโลหิตมากกว่า 120/80 - 139/89) ร้อยละ 21.81
3 กลุ่มเสี่ยงสูง ( ความดันโลหิตมากกว่า 140/90 -179/109) ร้อยละ 45.45
4 สงสัยเป็นโรค ( ความดันโลหิตมากกว่า 180/110 ขึ้นไป ) ร้อยละ 9.09
5 กลุ่มป่วย 17 คน ร้อยละ 15.45 มีภาวะแทรกซ้อน
6 กลุ่มเสี่ยง HT,DM 1 คน ร้อยละ 0.09
ผลงานดำเนินงานหลังการใช้กระบวนจราจร 7 สีมาช่วยในการเฝ้าระวังและดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ดังนี้
ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 81 คน จากจำนวน 110 คน ( 19 คน เนื่องจากไปทำงานนอกพื้นที่กลับมาบ้านไม่แน่นอนจึงไม่ได้เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยน) เริ่มดำเนินการ กันยายน 2558
กลุ่มป่วยเข้าร่วมโครงการ จำนวน 23 คน
- กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง 13 คน ปรับเปลี่ยน ได้ 9 คนเป็น 69.23 %
- กลุ่มป่วยเป็นทั้งเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 4 คนสามารถปรับเปลี่ยน 2 คนคิดเป็น 50 %
- กลุ่มเบาหวานจำนวน 6 คนปรับเปลี่ยนได้ 3 คนคิดเป็น 50 %
กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปรับเปลี่ยนเข้าร่วมปรับเปลี่ยนจำนวน 58 คน
- กลุ่มปกติ 37 คนดูแลตนเองได้ดี
- กลุ่มเสี่ยงความดัน 14 คน ปรับเปลี่ยนได้ 10 คน คิดเป็น 71.4 %
- กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 7 คน ปรับเปลี่ยนได้ 2 คนคิดเป็น 28.57 %
การดำเนินงานที่ผ่านมา
1. มีการนำคณะกรรมการหมู่บ้านอสม.เยี่ยมศึกษาดูงานในพื้นที่อำเภอกงหรา จ.พัทลุง
2. ได้รับการตรวจเยี่ยมชมพื้นที่โดยนพ.วราวุธ สุรพฤษก์
3. ร่วมต้อนรับการเยี่ยมชมศึกษาดูงานจากชาวบ้านและคณะทำงานงานตำบลกะมิยอ อ.เมืองปัตตานี
4. มีการสาธิตอาหารและประกวดน้ำบูดูเพื่อสุขภาพ
5. เกิดข้อตกลงเป็นนโยบายสาธารณะทุกวันศุกร์ งดหวาน มัน เค็ม งดบุหรี่ เน้นทานผัก เติมความสุข
6. กิจกรรมชมรมออกกำลังกายในตอนเช้าทุกวัน
7. มอบรางวัลเสริมกำลังใจแก่ผู้ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยค่าความดันโลหิตและเบาหวานลดลง
8. ในปี 59 ที่ผ่านมาหลังดำเนินการไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เบาหวานและความดันโลหิตสูงในรายที่ขาดการรักษาสามารถติดตามและเข้ารับยาอย่างต่อเนื่อง
9. ในปี 2560 สามารถขยายพื้นทีเครือข่ายการดำเนินการปรับเปลี่ยนไปในพื้นที่หมู่ที่ 3 โดยอสม.หมู่ที่5 และเครือข่ายในพื้นที่ร่วมเป็นพี่เลี้ยงเสนอแนวทางการดำเนินงาน
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
/• บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........110............................................... คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................20,000.................. บาท
3.1 จัดทำเวทีประชาคมหมู่บ้าน
- ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 40 บาท x 1 มื้อx1วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
- ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 50 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 1วัน เป็นเงิน 2,500 บาท
3.2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพเพื่อให้ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง
- ค่าอาหารกลางวัน 60 คน x 40 บาท x 1 มื้อx2วัน เป็นเงิน 4,800 บาท
- ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 60 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 2 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
- ค่าไวนิล เป็นเงิน 700 บาท
- ค่าวัสดุ อุปกรณ์ เป็นเงิน 4,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................20,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ......100...............
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท คิดเป็นร้อยละ ........-...................
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงานประชาคมในพื้นที่
แนวทางการแก้ไข
- หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
- การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่