การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3 ตำบลตุยง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560
บทคัดย่อ
โครงการ " การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุถือว่าเป็นบุคคลของสังคมที่มีคุณค่าเนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก เคยเป็นกำลัง
สำคัญของสังคมมาก่อนมีความรู้มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมายจำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดุแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีสุขภาพจิต สุขภาพกาย สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
จากข้อมูลการคัดกรองความดันโลหิตและน้ำตาลปีพบว่าเจอกลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 ราย ซึ่งอยู่ใน
กลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรคความดันโลหิต เบาหวานและโรคหลอดเลือด อสม.ม.3 จึงเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการการให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแลเพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดุแลมีความรู้สามารถดูแลตนเองได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้การดูแลตนเอง
- ผู้ดูแลได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ
- ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทีม อสม.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุได้รับความรู้การดูแลตนเอง
๒. ผู้ดูแลได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ
3. ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทีม อสม.
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
- มีการประชุมชี้แจงแผนเกี่ยวกับการให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลกับเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ในวันที่ 13 มกราคม 2560
2. มีการคัดกรองกรองสุขภาพและอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแล ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2560
3. มีการลงติดตามคัดกรองสุขภาพ ลงเยี่ยมผู้สูงอายุ ที่ไม่สามารถออกจากบ้านได้
สรุปผลการดำเนินงาน
ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มีทั้งหมด 85 คน คิดเป็น 13.45 % โดยในจำนวนนี้ที่ได้รับการคัดกรอง HT ,DM ทั้งหมด 85 คน คิดเป็น 100 % โดยจากการคัดกรอง HT,DM พบว่า
ผลการคัดกรองเบาหวาน
1 กลุ่มปกติจำนวน 72 คน ร้อยละ 61.20 %
2 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 2 คน ร้อยละ 1.70 %
3 กลุ่มสงสัยเป็นโรค 5 คน ร้อยละ 4.25 %
4 กลุ่มป่วยเบาหวาน 4 คน ร้อยละ 3.40 มีภาวะแทรกซ้อน
5 กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2 คน ร้อยละ 1. 70
ผลการคัดกรองความดันโลหิตสูง
1 กลุ่มปกติ 24 คน ร้อยละ 20.40
2 กลุ่มเสี่ยงแฝง ( ความดันโลหิตมากกว่า 120/80 - 139/89) 21 คน ร้อยละ 17.85
3 กลุ่มเสี่ยงสูง ( ความดันโลหิตมากกว่า 140/90 -179/109) 19 คน ร้อยละ 16.15
4 สงสัยเป็นโรค ( ความดันโลหิตมากกว่า 180/110 ขึ้นไป ) 7 คน ร้อยละ 5.95
5 กลุ่มป่วย 12 คน ร้อยละ 10.20
6 กลุ่มเสี่ยง HT,DM 2 คน ร้อยละ 1.70
ผลงานดำเนินงานหลังการใช้กระบวนจราจร 7 สีมาช่วยในการเฝ้าระวังและดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ดังนี้
ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 85 คน จากจำนวน 85 คน
- กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง 12 คน ปรับเปลี่ยน ได้ 9 คนเป็น 69.23 %
- กลุ่มป่วยเป็นทั้งเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 2 คนสามารถปรับเปลี่ยน 2 คนคิดเป็น 100 %
- กลุ่มเบาหวานจำนวน 4 คนปรับเปลี่ยนได้ 3 คนคิดเป็น 75 %
กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปรับเปลี่ยนเข้าร่วมปรับเปลี่ยนจำนวน 40 คน
- กลุ่มปกติ 37 คนดูแลตนเองได้ดี
- กลุ่มเสี่ยงความดัน 21 คน ปรับเปลี่ยนได้ 15 คน คิดเป็น 71.43 %
- กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 5 คน ปรับเปลี่ยนได้ 4 คนคิดเป็น 80 %
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
/• บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........100............................................... คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................10,000.................. บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ x 25 บาท x 100 คน เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ x 40 x 100 คน เป็นเงิน 4,000 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 1,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................10,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ......100...............
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท คิดเป็นร้อยละ ........-...................
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- อสม.ขาดทักษะ องค์ความรู้
- กลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแลมีพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไปจากเดิม
แนวทางการแก้ไข
- หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
- การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้การดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุในพื้นที่ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพ
2
ผู้ดูแลได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
3
ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทีม อสม.
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้การดูแลตนเอง (2) ผู้ดูแลได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ (3) ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทีม อสม.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3 ตำบลตุยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3 ตำบลตุยง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560
บทคัดย่อ
โครงการ " การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุถือว่าเป็นบุคคลของสังคมที่มีคุณค่าเนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก เคยเป็นกำลัง
สำคัญของสังคมมาก่อนมีความรู้มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมายจำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดุแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีสุขภาพจิต สุขภาพกาย สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
จากข้อมูลการคัดกรองความดันโลหิตและน้ำตาลปีพบว่าเจอกลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 ราย ซึ่งอยู่ใน
กลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรคความดันโลหิต เบาหวานและโรคหลอดเลือด อสม.ม.3 จึงเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการการให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแลเพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดุแลมีความรู้สามารถดูแลตนเองได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้การดูแลตนเอง
- ผู้ดูแลได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ
- ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทีม อสม.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุได้รับความรู้การดูแลตนเอง ๒. ผู้ดูแลได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ 3. ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทีม อสม.
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
- มีการประชุมชี้แจงแผนเกี่ยวกับการให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลกับเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ในวันที่ 13 มกราคม 2560
2. มีการคัดกรองกรองสุขภาพและอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแล ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2560
3. มีการลงติดตามคัดกรองสุขภาพ ลงเยี่ยมผู้สูงอายุ ที่ไม่สามารถออกจากบ้านได้
สรุปผลการดำเนินงาน
ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มีทั้งหมด 85 คน คิดเป็น 13.45 % โดยในจำนวนนี้ที่ได้รับการคัดกรอง HT ,DM ทั้งหมด 85 คน คิดเป็น 100 % โดยจากการคัดกรอง HT,DM พบว่า
ผลการคัดกรองเบาหวาน
1 กลุ่มปกติจำนวน 72 คน ร้อยละ 61.20 %
2 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 2 คน ร้อยละ 1.70 %
3 กลุ่มสงสัยเป็นโรค 5 คน ร้อยละ 4.25 %
4 กลุ่มป่วยเบาหวาน 4 คน ร้อยละ 3.40 มีภาวะแทรกซ้อน
5 กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2 คน ร้อยละ 1. 70
ผลการคัดกรองความดันโลหิตสูง
1 กลุ่มปกติ 24 คน ร้อยละ 20.40
2 กลุ่มเสี่ยงแฝง ( ความดันโลหิตมากกว่า 120/80 - 139/89) 21 คน ร้อยละ 17.85
3 กลุ่มเสี่ยงสูง ( ความดันโลหิตมากกว่า 140/90 -179/109) 19 คน ร้อยละ 16.15
4 สงสัยเป็นโรค ( ความดันโลหิตมากกว่า 180/110 ขึ้นไป ) 7 คน ร้อยละ 5.95
5 กลุ่มป่วย 12 คน ร้อยละ 10.20
6 กลุ่มเสี่ยง HT,DM 2 คน ร้อยละ 1.70
ผลงานดำเนินงานหลังการใช้กระบวนจราจร 7 สีมาช่วยในการเฝ้าระวังและดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ดังนี้ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 85 คน จากจำนวน 85 คน
- กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง 12 คน ปรับเปลี่ยน ได้ 9 คนเป็น 69.23 % - กลุ่มป่วยเป็นทั้งเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 2 คนสามารถปรับเปลี่ยน 2 คนคิดเป็น 100 %
- กลุ่มเบาหวานจำนวน 4 คนปรับเปลี่ยนได้ 3 คนคิดเป็น 75 %
กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปรับเปลี่ยนเข้าร่วมปรับเปลี่ยนจำนวน 40 คน
- กลุ่มปกติ 37 คนดูแลตนเองได้ดี
- กลุ่มเสี่ยงความดัน 21 คน ปรับเปลี่ยนได้ 15 คน คิดเป็น 71.43 %
- กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 5 คน ปรับเปลี่ยนได้ 4 คนคิดเป็น 80 %
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ /• บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........100............................................... คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................10,000.................. บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ x 25 บาท x 100 คน เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ x 40 x 100 คน เป็นเงิน 4,000 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 1,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................10,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ......100...............
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท คิดเป็นร้อยละ ........-...................
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- อสม.ขาดทักษะ องค์ความรู้
- กลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแลมีพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไปจากเดิม
แนวทางการแก้ไข
- หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
- การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้การดูแลตนเอง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุในพื้นที่ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพ |
|
|||
2 | ผู้ดูแลได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทีม อสม. ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้การดูแลตนเอง (2) ผู้ดูแลได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ (3) ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทีม อสม.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ...2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3 ตำบลตุยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......