กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขันมีอัตราการคลอดของหญิง อายุ 15-19 ปี อยู่ในอัตราที่สูงของอำเภอเขาชัยสน โดย ปี 2560 มีจำนวน 3 ราย ปี 2561 จำนวน 4 ราย ซึ่งมีผลกระทบตั้งครรภ์ในขณะที่ยังไม่พร้อม ซึ่งในจำนวนทั้งหมดเป็นเด็กวัยรุ่นในหมู่ที่ 4 ตำบลควนขนุน มากกว่าร้อยละ 80 การเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษา โดยเฉพาะเพศศึกษารอบด้าน เป็นสิ่งจำเป็นต้องมีการเตรียมพร้อมและพัฒนนาทักษะชีวิต มีเป้าหมายชีวิต มีทักษะการเจรจาต่อรอง พร้อมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวตั้งแต่วัยเด็กและเยาวชนทั้งในและนอกระบบการศึกษา รวมทั้งการสอดแทรกและเสริมการเรียนรู้เรื่องเพศ ให้มีทักษะในการดำรงชีวิตในสังคมปัจจุบันได้อย่างมีสุขภาวะทางเพศ ผลลัพธ์มีจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่ม อสม. เข้าร่วมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร้อยละ 80 กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจและการปฏิบัติตัวในการเตรียมความพร้อม ทักษะชีวิต และการตั้งครรภ์ไม่พร้อมลดลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ครอบครัวและเยาวชน หมู่ที่ 4 ตำบลควนขนุน มีความรู้ เรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : 1.ครอบครัวและเยาวชน หมู่ที่ 4 ตำบลควนขนุน มีความรู้ เรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์
0.00

 

2 2.เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด : 2.สร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
0.00

 

3 3.เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน
ตัวชี้วัด : 3.สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน
0.00

 

4 3.เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน
ตัวชี้วัด : 3.สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน
0.00

 

5 4.เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 4.วัยรุ่นและเยาวชนมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน 30 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ครอบครัวและเยาวชน หมู่ที่ 4 ตำบลควนขนุน มีความรู้ เรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ (2) 2.เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร (3) 3.เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน (4) 3.เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน (5) 4.เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่1.มีจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่ม อสม.เข้าร่วมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร้อยละ 80 2.กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจและการปฏิบัติตัวในการเตรียมความพร้อม ทักษะชีวิต 3.การตั้งครรภ์ไม่พร้อมลดลง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh