กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

แบบรายงานผลการดำเนินงาน โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก 0 – 72 เดือน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง  ประจำปีงบประมาณ 2560

  1. ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก 0- 72 เดือน ปีงบประมาณ
    2560
  2. วัตถุประสงค์
    1. เพื่อลดปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 0 – 72 เดือน
    2. เพื่อให้เด็ก 0- 72 เดือน มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม 3.เพื่อให้เด็ก 0- 72 เดือน ที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่ผิดปกติมาก
    3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก 0 – 72 เดือน
    4. เพื่อสร้างเสริมความรักและความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
    5. เพื่อให้มีมุมพัฒนาการสำหรับเด็ก 0 – 72 เดือน ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง
  3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวง จำนวน 96,700 บาท (เก้าหมื่นหกพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง 96,700 บาท โดยการจ่ายตามข้อตกลง ดังนี้
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมให้ความรู้ ผู้ปกครองเด็ก จำนวน 50 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
    2. ค่าอาหารเสริม (นมกล่อง) เด็ก จำนวน 50 คน คนละ 30 กล่อง/เดือน กล่องละ 10 บาท กิน 6 เดือน เป็นจำนวน 90,000 บาท
    3. ค่าจ้างเหมาทำป้ายไวนิล จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 450 บาท
    4. ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักเด็กอ่อน 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,500 บาท
    5. ค่าชุดวัดความยาว 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,500 บาท รวมใช้จ่ายทั้งหมดเป็นเงิน 96,700 บาท (เก้าหมื่นหกพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) คงเหลืองบประมาณและส่งคืน  –  บาท
  4. ระยะเวลาดำเนินงาน  เมษายน 2560 – กันยายน 2560
  5. ผลการดำเนินงาน
    ชั่งน้ำหนักเด็ก 0 – 72 เดือน จำนวน 874 คน จัดอบรมให้ความรู้ ผู้ปกครองเด็ก 0 – 72 เดือน จำนวน 50 คน จ่ายอาหารเสริม  (นมโครสจืด)  ให้แก่เด็กที่มีภาวะเสี่ยงประจำเดือน

- เมษายน  2560 จำนวน 50 คน - พฤษภาคม 2560 จำนวน 50 คน - มิถุนายน 2560 จำนวน 50 คน - กรกฎาคม 2560 จำนวน 50 คน - สิงหาคม 2560 จำนวน 50 คน - กันยายน 2560 จำนวน 50 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ 0-72 เดือน
ตัวชี้วัด :

 

5 เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
ตัวชี้วัด :

 

6 เพื่อให้มีมุมพัฒนาการสำหรับเด็กอายุ 0-72 เดือน ในโรงพยบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม (3) เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ 0-72 เดือน (5) เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก (6) เพื่อให้มีมุมพัฒนาการสำหรับเด็กอายุ 0-72 เดือน ในโรงพยบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh