กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จัดกิจกรรมตรวจเลือดเพื่อหาสารแคมีตกค้างในร่างกายแก่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน ในวันที่ 30 สิงหาคม 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด ผลการตรวจปรากฏว่าพบว่า ปกติ 53 คน ปลอดภัย 40 คน เสี่ยง 6 คน ไม่ปลอดภัย 1 คน (ปกติ = ไม่มีสารเคมีตกค้างในร่างกาย,ปลอดภัย= มีสารเคมีตกค้างในร่างกาย แต่ยังไม่แสดงอาการผิดปกติ,มีความเสี่ยง = มีสารเคมีตกค้างในร่างกายและมีอาการผิดปกติในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง โยดที่ไม่รู้ตัว, ไม่ปลอดภัย = มีสารเคมีตกค้างในร่างกาย และมีอาการผิดปกติปกานกลางถึงรุนแรงโดยที่ไม่รู้ตัว ) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ในหัวข้อ สารเคมีกำจัดศุัตรูพืชตกค้างในเลือดเกษตรกร ในวันที่ 31 สิงหาคม 2560 เวลา 13.00-16.30 น. ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด มีผู้เข้าร่วมอบรม 100 คน งบประมาณ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 4,000 บาท ,ค่าจ้างถ่ายเอกสารแผ่นความรู้ 1,500 บาท ,ค่าวัสดุอุปกรณ์การแพทย์ 4,500 บาท รวม 10,000 บาท 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกษตกรในเขตรับผิดชอบ มีความรุ้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกวิธี อย่างน้อยร้อยละ 90

 

2 เพื่อให้เกษตรกรในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจหาสารเคมีตำค้างในเลือด
ตัวชี้วัด : เกษตรกรในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด จำนวน 100 คน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตกรในเขตรับผิดชอบ มีความรุ้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกวิธี (2) เพื่อให้เกษตรกรในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจหาสารเคมีตำค้างในเลือด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh