กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2. ประชาชนปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ความร่วมมือของประชาชนกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชนไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ตัวชี้วัด : 1. ความพร้อมใช้ของอุปกรณ์ในการควบคุมโรค 2. ความทันเวลาในการพ่นเคมี 3. ความสำเร็จในการควบคุมโรค
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 12041 12041
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 12,041 12,041
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน (3) ข้อที่ 3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหะนำโรคอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้และการประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน และกิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมพ่นเคมีทำลายยุงพาหะนำโรคเพื่อควบคุมโรคไข้เลือดในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ประชาชนยังขาดความรู้ ความมตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออก ความร่วมมือในการร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายยังไม่ดีเท่าไร (2) เทศบาลมีความพร้อมในการควบคุมโรคโดยการพ่นเคมี แต่เมื่อออกไปในชุมชน ประชาชนบางหลังคาเรือนไม่ให้ความร่วมมือในการพ่น ทำให้ประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไม่เต็มที่ (3) บางครั้งความพร้อมของเครือข่าย เช่น อสม. ในบางพื้นที่่ยังขาดไบ้าง ทำให้เมื่อเทศบาลออกไปปฏิบัติงานไม่ทราบพิกัดที่แน่ชัด และประชาชนไม่ราบว่าจะมีการดำเนินการพ่นเคมี

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh