กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนได้มีเวลาให้กับครอบครัวตัวเองและคนในครอบครัว (2) เพื่อให้ประชาชนได้เห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในเรื่อง อาหาร อารมณ์ และการออกกำลังกาย (3) เพื่อให้ประชาชนหันมารับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัยมากขึ้น (4) เพื่อให้ประชาชนสามารถปรับ อารมณ์ ของตัวเองให้รู้เท่าทันกับปัญหาต่างๆไม่ให้เกิดโรคเครียดหรือโรคซึมเศร้า (5) เพื่อให้ประชาชนสนใจและให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายมากขึ้น (6) เพื่อให้ประชาชนเข้าใจหลัก 3 อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) เสริมสร้างสุขภาพและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และมีสุขภาพที่ดีและแข็งแรงต่อไป (7) เพื่อลดอัตราเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นนักดื่มหน้าใหม่ (8) เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุม (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ 3 อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) พิชิตโรคภัย ประจำปี 2562 (3) กิจกรรม 3 อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) พิชิตโรคภัย ประจำปี 2562 จำนวน 3 ครั้ง (4) ติดตามประเมินผล และรายงานผลการดำเนินการ (5) ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม รพ.สต.คลองแห แกนนำสุขภาพ อสม. และผู้แทนชุมชน กรรมการกลุ่มจิตอาสา สายธารทิพย์สู้ชุมชน เพื่อเตรียมการอบรม (6) ประชาสัมพันธ์โครงการ 3 อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) พิชิตโรคภัย ประจำปี 2562 (7) กิจกรรม 3 อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) พิชิตโรคภัย ประจำปี 2562 ครั้งที่ 1 (8) กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยงและลงให้ความรู้ผู่ป่วยติดบ้านติดเตียง (9) กิจกรรม 3 อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) พิชิตโรคภัย ประจำปี 2562 ครั้งที่ 2 (10) กิจกรรมประชุมติดตามโครงการระหว่างการทำกิจกรรม 3 อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) พิชิตโรคภัย ประจำปี 2562 ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 (11) กิจกรรม 3 อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) พิชิตโรคภัย ประจำปี 2562 ครั้งที่ 3 (12) ติดตามประเมินผล และรายงานผลการดำเนินการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ