กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกรักความสะอาด ส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการล้างมือ 7 ขั้นตอน และลดการแพร่ระบาดการกระจายเชื้อโรคที่ติดต่อ เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก และโรคทางเดินอาหาร
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กล้างมือได้ด้วยตนเอง มีสุขภาพแข็งแรง และลดการแพร่ระบาดของเชื้อโรค
39.00

 

2 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง สามารถศึกษาเล่าเรียนได้โดยไม่ขาดตอน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 90 ของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการมาเรียนอย่างสม่ำเสมอ และมีพัฒนาที่ดี เหมาะสมตามวัย
49.00

 

3 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีทักษะในการป้องกันโรคติดต่อเบื้องต้นด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : - เด็กและผู้ปกครองของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร มีทักษะในการป้องกันและรักษาโรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก และโรคทางเดินอาหาร
110.00

 

4 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อ วิธีการปฏิบัติตน และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและรักษาโรคที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก และโรคทางเดินอาหาร
ตัวชี้วัด : - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้
55.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 51
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 51
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกรักความสะอาด ส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการล้างมือ 7 ขั้นตอน และลดการแพร่ระบาดการกระจายเชื้อโรคที่ติดต่อ เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก และโรคทางเดินอาหาร (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง  สามารถศึกษาเล่าเรียนได้โดยไม่ขาดตอน (3) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีทักษะในการป้องกันโรคติดต่อเบื้องต้นด้วยตนเอง (4) เพื่อเสริมสร้างความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อ วิธีการปฏิบัติตน และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและรักษาโรคที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก และโรคทางเดินอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมหนูน้อยมือสะอาด (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมป้ายนิเทศเกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดขึ้นกับเด็ก (3) กิจกรรมการจัดอบรมเกี่ยวกับโรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปากและ โรคทางเดินอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh