กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต (2) 2. เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสให้ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ (3) 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจประชาชนกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ในชุมชน โดยอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (2) ประชุมชี้แจง และอบรมอสม. เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรอง (3) จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ ให้สามารถใช้งานได้อย่างเพียงพอและครบถ้วน (4) จัดทำและสนับสนุนสื่อ โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์โครงการ แผ่นพับ ความรู้เรื่องโรค (5) ออกให้บริการตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ครอบคลุม ๑๑ ชุมชน (6) จัดบอร์ดความรู้ ตามหลัก 3 อ. 2 ส. เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด โรคอ้วน (7) จัดกิจกรรมวันเบาหวานโลก (14 พ.ย.) วันความดันโลหิตสูงโลก (17 พ.ค.) วันอัมพฤกษ์อัมพาตโลก (24 พ.ค.) วันหัวใจโลก (สัปดาห์สุดท้ายเดือน ก.ย. ) (8) ให้คำปรึกษา ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ (9) ส่งต่อผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติเพื่อรับการตรวจวินิจฉัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ