กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของ ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
0.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการร้อยละ 100 2. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง กรณีพบฟันผุได้รับการรักษาต่อทุกราย 2. นักเรียนร้อยละ 70 ที่เป็นเหาสามารถรักาา ลดการแพร่สู่ผู้อื่น และการกลับมาติดเหาซ้ำอีก
0.00

 

4 เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง
0.00

 

5 เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลรักาาความสะอาดของร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 70 ที่เป็นเหาสามารถ ลดการแพร่สู่ผู้อื่น และการกลับมาติดเหาซ้ำอีก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการสุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัดความสำเร็จ (2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน (3) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม (4) เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก (5) เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลรักาาความสะอาดของร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ (2) กิจกรรมฟันดี มีสุข (3) กิจกรรมสลัด สะบัดเหา (4) กิจกรรมไข้เลือดออก (5) ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh