กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2560 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
สนง. เลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯเทศบาลเมืองกันตัง

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L6895-4-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L6895-4-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เริ่มดำเนินการตั้งแต่ได้มีประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เมื่อวันที่28มิถุนายนพ.ศ. 2548โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันสุขภาพให้กับบุคคลในพื้นที่ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นและกำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพต่อการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพุทธศักราช 2550โดยเน้นการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพให้กับประชาชนทุกคนซึ่งกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆที่ดำเนินการในกลุ่มเป้าหมายจะต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารกองทุนสุขภาพที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นและการพิจารณางบประมาณต่าง ๆ นั้นสามารถสนับสนุนกิจกรรมใน5ลักษณะคือ 1.สนับสนุนหน่วยบริการหรือสถานบริการหรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ 2.การสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่น/หน่วยงานอื่น 3.การสนับสนุนการดูแลเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
4.การบริหารจัดการกองทุน/พัฒนาศักยภาพกรรมการและพัฒนาระบบบริหารจัดการ 5.กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ เทศบาลเมืองกันตังได้เข้าร่วมดำเนินการ กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นในปี พ.ศ. 2551มีการประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนสุขภาพฯและยังมีความจำเป็นในการพัฒนาและเสริมศักยภาพในการดำเนินงานกองทุนสุขภาพฯจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลเมืองกันตังขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตลอดจนเกิดประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองกันตังต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาสุขภาพประชาชนแก่คณะกรรมการบริหาร กองทุนฯ โรงเรียน องค์กร หน่วยงาน ชุมชน ชมรมต่างๆ
  2. เพื่อส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่ายสุขภาพ
  3. เพื่อเสริมศักยภาพการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ
  4. เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่ และเป็นการระดมสมองในการจัดทำแผนสุขภาพ/แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของกองทุนฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 80

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1) ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ 2) คณะกรรมการฯสามารถเข้าใจในแนวทางบริหารกองทุนฯอย่างมีประสิทธิภาพ 3) เกิดการดำเนินงานอย่างบูรณาการและมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กรหน่วยงาน ชุมชนต่างๆ 4) เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ดำเนินงานและทิศทางระบบหลักประกันสุขภาพใน ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 5) มีแผนสุขภาพ/แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของกองทุนฯ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่คณะอนุกรรมการ/กรรมการบริหารกองทุนฯ/คณะกรรมการติดตามประเมินผล/แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้นำชุมชน 12 ชุมชน/ครูอนามัยโรงเรียน/ประชาชนทั่วไป

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการประชุมทำให้ได้รับทราบปัญหาสุขภาพของหน่วยงาน องค์กร ชมรมและชุมชนต่างๆ ที่เป็นภาคีเครือข่ายสุขภาพ 

     

    80 83

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ  ปัญหาสาธารณสุขในเขตเทศบาลเมืองกันตัง  และแนวทางการจัดทำแผนสุขภาพ พร้อมแบ่งกลุ่มจัดทำแผนสุขภาพนำสู่การปฏิบัติตามกลุ่ม เป้าหมาย  5  กลุ่มหลัก  ซึ่งได้แก่  กลุ่มแม่และเด็ก 0-6 ปี  กลุ่มเด็กวัยเรียน/วัยรุ่น  กลุ่มวัยทำงาน/ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทั่วไป  กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และกลุ่มผู้พิการ/ผู้สูงอายุ  โดยทีมวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง  เมื่อวันที่  29 พฤศจิกายน  2559  ณ  อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง มีผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้  จำนวน  83  คน
    2. ผลการประชุมทำให้ได้รับทราบปัญหาสุขภาพของหน่วยงาน องค์กร ชมรมและชุมชนต่างๆ ที่เป็นภาคีเครือข่ายสุขภาพ  และแนวทางแก้ไขปัญหาครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้
      2.1 กลุ่มแม่และเด็ก 0-6 ปี  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่  รณรงค์การฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์  เยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด ติดตามการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์  ติดตามและประเมินภาวะโภชนาการ ตรวจพัฒนาการของเด็ก 0-5 ปี  ส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน  ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัว
      2.2 กลุ่มวัยเรียน/วัยรุ่น  กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียน ให้ความรู้และทักษะการดูแลตนเองด้านสุขภาพ  โภชนาการ  โรคติดต่อ  การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์/การตั้งครรภ์ไม่พร้อม  ตรวจ/คัดกรองสุขภาพ เช่น สุขภาพช่องปากและฟัน สายตา ภาวะโภชนาการ ภาวะซึมเศร้า การเฝ้าระวังและป้องกันยาเสพติด  การออกกำลังกาย  ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ส่งเสริมและพัฒนา IQ สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ เช่น การเข้าค่ายสัมพันธ์ จัดตั้งกลุ่ม/ชมรม TO BE NO.ONE และสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมต่อเนื่อง
      2.3 กลุ่มวัยทำงาน  ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน โดยค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง  คัดกรองภาวะซึมเศร้า  ส่งเสริมสุขภาพจิต รณรงค์ลดอุบัติเหตุขับขี่ปลอดภัย  รณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่/สุรา ส่งเสริมการออกกำลังกาย/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การบริโภคอาหารถูกหลักโภชนาการ การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม  มะเร็งปากมดลูก โรคหัวใจและหลอดเลือด
      2.4 กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  ควบคุมโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ตรวจคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากโรค  เช่น  การคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด  ตรวจจอประสาทตา/เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน  การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  การให้ความรู้/คำแนะนำแก่ญาติหรือผู้ดูแลหรือผู้ป่วย การฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมการออกกำลังกาย การติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
      2.5 กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ/ผู้พิการแบบองค์รวม  มีกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ/ผู้พิการ  เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง  ส่งเสริมการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว การส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้พิการ/ทุพลภาพ  การสำรวจและขึ้นทะเบียนผู้พิการ/ทุพพลภาพ เพื่อให้เข้าถึงสิทธิประโยชน์ต่างๆ  พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้พิการ/ผู้สูงอายุ  และญาติผู้ดูแล โดยการอบรมให้ความรู้พร้อมฝึกทักษะการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ/ผู้สูงอายุ การเยี่ยมบ้านโดยอสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  การตรวจ/คัดกรองสุขภาพผู้พิการ/ผู้พิการ  ส่งเสริมการสร้างอาชีพ/รายได้ การรวมกลุ่ม/จัดตั้งกลุ่ม  โดยความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ  จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ/ผู้พิการ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาสุขภาพประชาชนแก่คณะกรรมการบริหาร กองทุนฯ โรงเรียน องค์กร หน่วยงาน ชุมชน ชมรมต่างๆ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่ายสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อเสริมศักยภาพการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่ และเป็นการระดมสมองในการจัดทำแผนสุขภาพ/แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของกองทุนฯ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 80

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาสุขภาพประชาชนแก่คณะกรรมการบริหาร กองทุนฯ โรงเรียน องค์กร หน่วยงาน ชุมชน ชมรมต่างๆ (2) เพื่อส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่ายสุขภาพ (3) เพื่อเสริมศักยภาพการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ (4) เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่ และเป็นการระดมสมองในการจัดทำแผนสุขภาพ/แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของกองทุนฯ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L6895-4-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สนง. เลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯเทศบาลเมืองกันตัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด