กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

      ๓. สรุปกิจกรรม  ที่ได้ดำเนินการ  มีดังนี้   ๓.๑ จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร  โครงการสงขลาแต่แรก “ถนนคนเดิน  เพลินกินของหรอย  ย้อนรอยบ่อยาง”  จำนวน  ๑๓๐  คน ๓.๒  จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารตลาดนัดชุมชนบ่อยาง  จำนวน  ๕๐  คน ๓.๓  จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการแผงลอยจำหน่ายอาหารในที่หรือทางสาธารณะรอบโรงเรียน  จำนวน  ๑๐๐  คน ๓.๔  จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในเทศกาลอาหาร  ๒  ทะเล  จำนวน  ๑๕๐  คน


  ๕.  สรุปการใช้งบประมาณ ๕.๑  งบประมาณ  ที่ได้จัดสรร  จำนวน ๙๒,๔๐๐ บาท  (เก้าหมื่นสองพันสี่ร้อยบาทถ้วน) ๕.๒  งบประมาณ  ที่ใช้จริง  จำนวน  ๘๑,๖๐๐  บาท  (แปดหมื่นหนึ่งพันหกร้อยบาทถ้วน) ๕.๒.๑  ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน  ๒๑,๕๐๐  บาท (สองหมื่นหนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน) ๕.๒.๒  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน  ๒๑,๕๐๐  บาท  (สองหมื่นหนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน) ๕.๒.๓  ค่าตอบแทนวิทยากร  จำนวน  ๓,๖๐๐  บาท (สามพันหกร้อยบาทถ้วน) ๕.๒.๔  ค่าวัสดุ  อุปกรณ์ในการอบรม  จำนวน  ๑๐,๐๐๐  บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ๕.๒.๕  ค่าสื่อประชาสัมพันธ์(ไวนิล) โครงการรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร
          จำนวน  ๒๕,๐๐๐ บาท (สองหมื่นห้าพันบาทถ้วน)

รวมทั้งสิ้น  จำนวน  ๘๑,๖๐๐  บาท (แปดหมื่นหนึ่งพันหกร้อยบาทถ้วน) เงินคงเหลือ  จำนวน  ๑๐,๘๐๐  บาท (หนึ่งหมื่นแปดร้อยบาทถ้วน)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๒.๑. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร เขตเทศบาลนครสงขลา ลด ละ เลิก การใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ระดับ ดี ถึง ดีมาก หลังเข้ารับการอบรม

 

2 ๒.๒. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารและผู้บริโภคได้ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ ๙0 ของสถานประกอบการที่เข้ารับการอบรม จำนวน ๔๓๐ ร้าน ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหารและหันมาใช้วัสดุทดแทนโฟมในการบรรจุอาหาร

 

3 ๒.๓. เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม
ตัวชี้วัด :

 

4 ๒.๔. เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 430
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 430
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร เขตเทศบาลนครสงขลา ลด ละ เลิก การใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร (2) ๒.๒. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารและผู้บริโภคได้ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร (3) ๒.๓. เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม (4) ๒.๔. เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh