กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ วิธีดำเนินการ
-ตรวจสุขภาพเบื้องต้น คัดกรองข้อเข่าเสื่อม คัดกรองกลุ่มเสี่ยงเพื่อเฝ้าระวัง-อบรมให้ความรู้โดยวิทยากรทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ -แช่น้ำแร่บำบัดโรค –กิจกรรมสันทนาการ -กิจกรรมประเมินผล ก่อนและหลัง
ระยะเวลาดำเนินการ ม.ค.๖1 – ก.ย.๖2
สถานที่ดำเนินการ บ่อน้ำร้อน ต.เขาชัยสน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ
-ได้รับคำแนะนำการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพกายรวมทั้งสุขภาพจิตโดยผู้ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน
-หลังร่วมโครงการวารีบำบัดแต่ละครั้ง อาการปวดกล้ามเนื้อข้อเท้า ข้อเข่าลดลง อาการชาปลายมือปลายเท้าลดลง การไหลเวียนโลหิตดีขึ้น การกำจัดของเสียในร่างกายดีขึ้น
-ได้รับความสนุกสนาน ผ่อนคลายความตึงเครียด
-ได้พบปะเพื่อนฝูงในวัยเดียวกัน
-ได้มีโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติ -เป็นอีกทางเลือกในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเองเป็นแพทย์ทางเลือก แทนการรักษาด้วยยา ความโดดเด่นของโครงการ -ความเป็นเอกภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสนในการบริหารจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติ -การดึงศักยภาพของบ่อน้ำร้อนเขาชัยสน มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
-การบูรณาการ การทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่ายสุขภาพ ที่เข้มแข็งและจริงจัง -การเป็นแพทย์ทางเลือก ในการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ ข้อเข่า ข้อเท้าฯ -ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ของบ่อน้ำร้อนให้เป็นที่รู้จักในวงกว้างขึ้น -เกิดนวัตกรรมการใช้วัสดุหาง่าย/เหลือใช้ในชุมชน มาปรับใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการยืดเหยียดกล้ามเนื้อสำหรับทุกกลุ่มวัย

ความยั่งยืนของการดำเนินการ -องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสนมี บ่อน้ำร้อนเขาชัยสน อยู่ในพื้นที่ ส่งผลให้โครงการวารีบำบัดบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้และยั่งยืน
-มีกลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุ ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมโครงการวารีบำบัด
-มีทีมภาคีเครือข่าย รพ.เขาชัยสน สสอ.เขาชัยสนที่มีการทำบันทึกข้อตกลงในการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการวารีบำบัด
-มีภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯที่มีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ -มีหน่วยงานราชการ เช่น สสอ.เขาชัยสน รพ.สต.ในพื้นที่ ที่สนับสนุนในหลายๆด้านเช่นข้อมูลด้านสุขภาพ
สามารถเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการรักษาโรคได้ -มีศูนย์ฟื้นฟูผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อบต.เขาชัยสน ที่เป็นคณะทำงานในโครงการวารีบำบัด
-มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ
-อบต.เขาชัยสน คณะผู้บริหารที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพผู้สูงอายุ อำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ร่วมกันดำเนินงานโครงการวารีบำบัดให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

บทเรียนที่ได้รับ
โครงการวารีบำบัด เป็นการนำศักยภาพของทรัพยากรทางธรรมชาติคือบ่อน้ำร้อนเขาชัยสน มาใช้ประโยชน์เชิงสุขภาพ เน้นการทำงานแบบบูรณาการร่วมกันทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชน ผ่านการค้นคว้าศึกษาข้อมูลหลายๆด้าน เช่นงานวิจัย งานวิชาการต่างๆเพื่อเป็นตัวช่วยในการป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย ก่อนการดำเนินโครงการ ซึ่งสามารถเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการเพิ่มการเข้าถึงแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติของผู้สูงอายุ และเป็นแพทย์ทางเลือกสำหรับการช่วยบรรเทาอาการของผู้ที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อ ข้อเข่า ข้อเท้าฯ แหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติต่างๆ ถ้าได้รับการสนับสนุนงบประมาณ บุคลากร หรือวิชาการต่างๆในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลอย่างละเอียดถี่ถ้วน อาจจะพบช่องทางหรือคุณสมบัติพิเศษที่สามารถเป็นทางเลือกให้กับประชาชนในพื้นที่ได้นำมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อชุมชน สังคม หรือประเทศได้ มากกว่าการใช้แหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อการท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว

ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด การบรรลุตามวัตถุประสงค์  บรรลุตามวัตถุประสงค์ 1.เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
๒.เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ ๓.เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 806 คน การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 40,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 40,000 บาท คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ –


ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน □ ไม่มี มี ปัญหา/อุปสรรค
เขตพื้นที่ของตำบลเขาชัยสนมีบริเวณกว้างมีจำนวนหมู่บ้าน ๑๔หมู่บ้านมีกลุ่มผู้สูงอายุจำนวนมากทำให้ดูแลไม่ครบทุกคน
บุคลากรที่ดำเนินงานมีจำกัด ทำให้ล่าช้าในการดำเนินงานโครงการ การใช้จ่ายงบประมาณมีข้อจำกัด สถานที่จำกัด ทำให้บางครั้งจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมมากเกินสถานที่รองรับได้

แนวทางการแก้ไข
จัดตารางการดำเนินโครงการโดยการแบ่งเป็นรายหมู่บ้าน รายชุมชน เพื่อแก้ปัญหา ด้านบุคลากรและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ