กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-มีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ 1. ผู้สูงอายุจำนวน 265 คน 2.ประชาชนทั่วไป 403 คน รวมทั้งสิ้น 668 คน -พบผู้สูงอายุ แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 2Q แปลผลบวก จำนวน 14/265ราย คิดเป็นร้อยละ 5

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ตัวแทนผู้สูงอายุ ตัวแทนอสม.ทั้ง 19 ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เพื่อนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ตัวแทนผู้สูงอายุ ตัวแทนอสม.ทั้ง 19 ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เพื่อนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน
100.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ด้วยการสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพดี/ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และคัดกรองภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ด้วยการสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพดี/ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และคัดกรองภาวะซึมเศร้า
100.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 668
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 300 668
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ตัวแทนผู้สูงอายุ ตัวแทนอสม.ทั้ง 19 ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้เพื่อนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ด้วยการสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพดี/ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และคัดกรองภาวะซึมเศร้า (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการสร้างเสริมศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพ และกิจกรรมการคัดเลือกผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1.จัดโครงการในครั้งต่อไปกลุ่ม ผสว.ควรมีขนาดเล็ก 2.ควรมีวิทยากรทีมคณะทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลและการให้ความรู้ให้แก่ ผสว. 3.ติดตาม ผสว. ที่มีภาวะซึทเศร้าจากแบบประเมิน๒Q (ผลบวก) โดยนัดติดตามประเมิน 9Q ซ้ำ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh