กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

อาศัยอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในตำบล เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ผู้ป่วยเรื้อรัง,ผู้พิการ,ผู้ป่วยติดบ้าน-ติดเตียง,ผู้สูงอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป ถือเป็นบุคคลที่ขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการต่างๆของรัฐ โดยเฉพาะด้านสาธารณสุข ถ้าผู้ดูแลไม่ให้ความสำคัญ และจะทำให้คุณภาพชีวิตลดน้อยลงไปเรื่อยๆ หากไม่ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสุขภาพ รวมไปถึงการพิทักษ์สิทธิ์พึงมีพึงได้ต่างๆ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน มีจำนวนผู้สูงอายุร้อยละ ๑๖ ของประชากรทั้งหมด มีจำนวนผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน ๑,๓๙๑ คน ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จำนวน ๒๔๘ คน ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการจำนวน 272 คน รวม จำนวน ๑,๙๑๑ คน และมีผู้ป่วยเรื้อรังอีกจำนวนมาก ซึ่งเป็นประชากรในทุกกลุ่มวัยที่ขาดการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง   องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรังมาโดยตลอด จึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต ร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในตำบลเขาชัยสน เช่น รพ.เขาชัยสน รพ.สต.ในพื้นที่ อบต.เขาชัยสน อสม. ผู้นำชุมชน และประชาชนผู้มีจิตอาสาในตำบลเขาชัยสน ฯ เพื่อร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรัง สร้างชุมชนเข้มแข็ง และเพิ่มการเข้าถึงบริการสาธารณสุข.ให้แก่ของ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรัง

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (3) เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (4)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

เขตพื้นที่ของตำบลเขาชัยสนมีบริเวณกว้างทำให้ใช้เวลาในการเดินทางแต่ละครั้งและมีจำนวนหมู่บ้าน ๑๔ หมู่บ้าน มีกลุ่มผู้สูงอายุจำนวนมากที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ทำให้ดูแลไม่ครบทุกคน
บุคลากรที่ดำเนินงานมีจำกัด ทำให้ล่าช้าในการดำเนินงานโครงการ การใช้จ่ายงบประมาณมีข้อจำกัด

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ