กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ 1.กิจกรรมด้านส่งเสริมป้องกัน 16 ม.ค. 2562 11 ก.พ. 2562

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครอง เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หลักสูตร 1 วัน/ศพด.

เป้าหมาย
- ผู้ปกครองเด็ก จำนวน 331 คน

  • ผู้ปกครอง ศพด.บ้านควนไสน จำนวน 65 คน

  • ผู้ปกครอง ศพด.บ้านท่าแลหลา จำนวน 65 คน

  • ผู้ปกครอง ศพด.บ้านป่าฝาง  จำนวน 73 คน

  • ผู้ปกครอง ศพด.บ้านปากปิง  จำนวน 99 คน

  • ผู้ปกครอง ศพด.บ้านตูแตหรำ จำนวน 29 คน

รายละเอียดกิจกรรม

  1. อบรมฟื้นฟูและให้ความรู้เพื่อเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. ฝึกปฏิบัติทักษะการแปรงฟัน แบบ Hand on ให้แก่ผู้ปกครอง

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครอง เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หลักสูตร 1 วัน/ศพด.

เป้าหมาย - ผู้ปกครองเด็ก จำนวน 331 คน

  • ผู้ปกครอง ศพด.บ้านควนไสน จำนวน 65 คน

  • ผู้ปกครอง ศพด.บ้านท่าแลหลา จำนวน 65 คน

  • ผู้ปกครอง ศพด.บ้านป่าฝาง  จำนวน 73 คน

  • ผู้ปกครอง ศพด.บ้านปากปิง  จำนวน 99 คน

  • ผู้ปกครอง ศพด.บ้านตูแตหรำ จำนวน 29 คน

ผลการดำเนินงาน การประเมินความรู้โดยการทำแบบประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรมเรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคฟังผุ การดูแลสุขภาพช่องปาก อาหารที่มีประโยชน์และโทษต่อฟัน โดยใช้แบบทดสอบจำนวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน โดยให้ผู้เข้าอบรมขีดเครื่องหมายในช่องที่เห็นว่าใช่ หรือไม่ใช่ ในแบบประเมิน ผลปรากฎ ดังนี้

ก่อนการอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคฟันผุ การดูแลสุขภาพช่องปาก อาหารที่มีประโยชน์และโทษต่อฟัน ได้คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 65.00 มีผู้ได้คะแนนสูงสุด 9 คะแนน และคะแนนต่ำสุด 1 คะแนน โดยมีคะแนนเฉลี่ย 6.46 คะแนน

หลังการอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคฟันผุ การดูแลสุขภาพช่องปาก อาหารที่มีประโยชน์และโทษต่อฟัน ได้คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 90.09 มีผู้ได้คะแนนสูงสุด 10 คะแนน และคะแนนต่ำสุด 6 คะแนน โดยมีคะแนนเฉลี่ย 9.01 คะแนน

ผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 331 คน จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม แสดงให้เห็นว่าเมื่อเสร็จสิ้นการอบรมแล้ว ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น เฉลี่ยร้อยละ 36.5

 

กิจกรรมที่ 2.1 ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กเล็กทุกคน 1 ก.พ. 2562 2 ก.ย. 2562

 

กิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปากเด็กเล็กทุกคน

เป้าหมาย

  • เด็กใน ศพด. จำนวน 331คน

รายละเอียดกิจกรรม

  1. นักเรียนใน ศพด. ทั้ง 5 แห่ง ได้รับการตรวจฟันจากทันตบุคลากร
  2. คัดเลือกเด็กนักเรียนที่มีฟันกรามน้ำนมผุเพื่อทำการอุด ART

 

จำนวนเด็กทั้งหมด จำนวน 331 คน

  • ได้รับตรวจฟัน จำนวน 310 คน คิดเป็นร้อยละ 93.66

  • จำนวนเด็กที่ปราศจากฟันผุ จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 21.61

  • จำนวนเด็กที่มีฟันผุ จำนวน 243/1645 คน/ซี่ คิดเป็นร้อยละ 78.39

 

กิจกรรมที่ 2.2 ให้การบูรณฟันด้วยวิธี SMART technique ในเด็กที่มีฟันน้ำนมผุ 1 ก.พ. 2562 2 ก.พ. 2562

 

กิจกรรม ให้การบูรณฟันด้วยวิธี SMART technique ในเด็กที่มีฟันน้ำนมผุ

เป้าหมาย

  • เด็กใน ศพด. จำนวน 331 คน

รายละเอียดกิจกรรม

  1. ทาง รพ.ประสานงานครูเพื่อลงไปดำเนินการอุดฟันให้นักเรียน

  2. เตรียมวัสดุและอุปกรณ์ ออกหน่วย

  3. ครูผู้ดูแลเด็กนัดผู้ปกครองเด็กเพื่อนำเด็กมาตามรายชื่อมาอุดฟันในวันและเวลาที่นัดหมาย

  4. ให้บริการอุดฟันกรามน้ำนมด้วย SMART technique แก่เด็กเล็กในศพด.

 

จำนวนเด็กทั้งหมด จำนวน 331 คน

  • ได้รับตรวจฟัน จำนวน 310 คน คิดเป็นร้อยละ 93.66

  • จำนวนเด็กที่ปราศจากฟันผุ จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 21.61

  • จำนวนเด็กที่มีฟันผุ จำนวน 243/1645 คน/ซี่ คิดเป็นร้อยละ 78.39

  • จำนวนเด็กที่ได้รับการบูรณฟัน ทั้งหมด 202/569 คน/ซี่ คิดเป็นร้อยละ 83.13

ดังนั้น นักเรียนที่ได้รับการบูรณฟันแล้วสามารถควบคุมรอยโรคฟันผุไม่ให้ผุลุกลามต่อในฟันน้ำนม และลดโอกาสเสี่ยงโรคฟันผุได้ถึงร้อยละ 50

 

กิจกรรมที่ 3 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ส.ค. 2562 1 ก.ย. 2562

 

รายละเอียดกิจกรรม

  1. จัดทำเอกสารนำเสนอโครงการ จำนวน 2 ครั้ง

  2. จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ

 

จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ จำนวน 4 เล่ม

 

กิจกรรมที่ 2.3 ติดตามผล 1 เดือนภายหลังการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART แล้ว เด็กไม่มีอาการปวดฟัน 1 ส.ค. 2562 4 พ.ค. 2562

 

กิจกรรมติดตามผล 1 เดือนภายหลังการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART แล้ว เด็กไม่มีอาการปวดฟัน

เป้าหมาย

  • เด็กใน ศพด. จำนวน 331 คน

รายละเอียดกิจกรรม

  1. ทันตบุคลากรจะเข้าไปติดตามอาการภายหลังการอุดฟันด้วย SMART technique ของเด็กเล็ก ในศพด. โดยจะสุ่มตรวจ ร้อยละ 10 ของนักเรียนที่ได้รับการรักษา

 

จากการสำรวจสภาวะช่องปาก มีเด็กได้รับการบูรณฟันเพียงร้อยละ 3.7 โดยหลังจากการดำเนินโครงการแล้วเสร็จ เด็กได้รับการเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 83.13