กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงและไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต
  2. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
  3. ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  4. ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผุ้ป่วยเสียชีวิต ด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยลดลง ไม่มีอัตราตาย
0.00 0.00

อัตราป่วยปละตายเท่ากับ 0

2 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโำรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
ตัวชี้วัด : มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันดรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
2.00 2.00

ประชาชนทั้ง 2หมู่มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

3 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
2.00 2.00

ครัวเรือนในพื้นที่ 2 หมู่ มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์อย่างต่อเนื่อง

4 4. เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดอก
ตัวชี้วัด : ประชาชนเดิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
2.00 2.00

ประชาชนทั้งหมด 2 หมู้เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการ ชุมชนร่วมใจ ขจัดภัยโรคไข้เลือดออกประจำปี 2562 ผู้จัดทำ  นางสาวคัสรีนา  ดุลย์ธารา พี่เลี้ยง  นางพรพิไล ประแก้ว สถานที่ ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา               บทคัดย่อ โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมาสถานการณ์โรคไข้เลือดออกของประเทศไทยปีพ.ศ.2561 มีผู้ป่วยจำนวน 70,146 ราย (อัตราป่วย 106.19 ต่อแสนประชากร) และมีผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 92 ราย (อัตราตายร้อยละ 0.13 ) ในจังหวัดปัตตานีได้มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแล้วจำนวน 383 ราย (อัตราป่วย 54.3 ต่อแสนประชากร) โดยตำบลบางตาวา ในปัจจุบัน ตั้งแต่เดือนมกราคม – ตุลาคม 2561 มีจำนวนผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออก จำนวน 2 ราย (อัตราป่วย 0.06 ต่อแสนประชากร)     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา  ได้เล็งเห็นความสำคัญดำเนินการควบคุมและการป้องกันโรคที่เข้มแข็งและมีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการประสานความร่วมมือกับชุมชนในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของส่วนราชการ องค์กรท้องถิ่นและชุมชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh