กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.อสม.มีความรู้และมีทักษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสามารถนำทักษะไปเผยแพร่ได้ 38 คน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของอสม.มีความรู้ และมีทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม และสามารถเผยแพร่ถ่ายทอดทักษะกาตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
90.00 90.00

 

2 2.ประชากรกลุ่มเป้าหมายไเ้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตามมาตรฐานอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลู
20.00 20.00

 

3 3.ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงบริการรักษาพยาบาลด้วยโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ได้ตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองได้โดยตรงในวันที่คลินิกเปิดทำการให้บริการ
70.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการ  ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ผู้จัดทำ  นางพรพิไล ประแก้ว ที่เลี้ยงโครงการ  นางสาวซำซียะ สถายที่ดำเนินการ  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

                บทคัดย่อ สถานการณ์ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลุกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30- 60 ปี ในเขตพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา พบว่า กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2559-2561 ร้อยละ 42.44 พบว่าผู้ที่มีเซลล์ผิดปกติทั้งสิ้น 12 คน และกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจมะเร็งมะเร็งเต้านม ร้อย97.66 พบผู้ที่มีความผิด 1 คน จากข้อมูลดังกล่าวเห็นว่า กลุ่มคัดกรองมะเร็งปากมดลุก ที่ยังไม่เข้ารับการตรวจจะเป็นกลุ่มที่ยาก ต่อการติดต่อเข้ารับบริการและตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ที่ไม่พบความผิดปกติ อาจเกิดจากการตรวจที่ไม่ถูกต้อง เทคนิคหรือแบบการตรวจคัดกรงที่มีความซับซ้อนไม่เข้าใจ พร้อมทั้ง กลุ่มเป้าหมาย อสม.ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลุกและมะเร็งเต้านม       โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา จึงได้จัดทำโครงการคัดกรงมะเร็งปากมดลุกและมะเร็งเต้านม ปี 2562 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลุกและมะเร็งเต้านม ในกลุ่มเสี่ยง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh