กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (HbA1C) ไม่ให้เกิน 7 mg% เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน จากการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน โดยมีการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานอย่างต่อเนื่องทุก 1 เดือน การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด พร้อมทั้งจุดกราฟเส้นสีชี้ชะตาชีวิต ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้เห็นแนวโน้มของโรคที่เป็นอยู่ ส่งผลให้เกิดการปรับพฤติกรรมตนเองอย่างต่อเนื่อง การจัดกิจกรรมสาธิตอาหาร ทำให้ผู้ป่วยได้เห็นภาพการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ ส่งผลดีให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ต่อเนื่องทำให้ผลน้ำตาลในเลือดดีขึ้น ส่งผลให้ผลระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยดีขึ้น ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ45.16 ( ปี 2561 สามารถควบคุมได้ ร้อยละ 35.71 )  ผู้ป่วยเบาหวานไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า กิจกรรมที่ดำเนินงานมีดังนี้ ๑. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานตามหลัก 3อ2ส. พร้อมทั้งสาธิตอาหารที่เหมาะสม จำนวน 1 วัน ๒. จัดกิจกรรมกลุ่มวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ / พฤติกรรมสุขภาพโดยใช้ Body mapping มาวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพรายบุคคล จำนวน 5 ครั้ง ๓. เจาะเลือดปลายนิ้วทุก 1 เดือน จุดกราฟเส้นสีชี้ชะตาชีวิต
๔. เยี่ยมบ้านย่องครัว ดูพฤติกรรมการบริโภคอาหารรายบุคคล


ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ