กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (HbA1C) ไม่ให้เกิน 7 mg% เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน จากการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน โดยมีการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานอย่างต่อเนื่องทุก 1 เดือน การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด พร้อมทั้งจุดกราฟเส้นสีชี้ชะตาชีวิต ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้เห็นแนวโน้มของโรคที่เป็นอยู่ ส่งผลให้เกิดการปรับพฤติกรรมตนเองอย่างต่อเนื่อง การจัดกิจกรรมสาธิตอาหาร ทำให้ผู้ป่วยได้เห็นภาพการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ ส่งผลดีให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ต่อเนื่องทำให้ผลน้ำตาลในเลือดดีขึ้น ส่งผลให้ผลระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยดีขึ้น ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ45.16 ( ปี 2561 สามารถควบคุมได้ ร้อยละ 35.71 )  ผู้ป่วยเบาหวานไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า กิจกรรมที่ดำเนินงานมีดังนี้ ๑. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานตามหลัก 3อ2ส. พร้อมทั้งสาธิตอาหารที่เหมาะสม จำนวน 1 วัน ๒. จัดกิจกรรมกลุ่มวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ / พฤติกรรมสุขภาพโดยใช้ Body mapping มาวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพรายบุคคล จำนวน 5 ครั้ง ๓. เจาะเลือดปลายนิ้วทุก 1 เดือน จุดกราฟเส้นสีชี้ชะตาชีวิต
๔. เยี่ยมบ้านย่องครัว ดูพฤติกรรมการบริโภคอาหารรายบุคคล

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (HbA1C) ไม่ให้เกิน 7 mg% เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน จากการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน โดยมีการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานอย่างต่อเนื่องทุก 1 เดือน การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด พร้อมทั้งจุดกราฟเส้นสีชี้ชะตาชีวิต ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้เห็นแนวโน้มของโรคที่เป็นอยู่ ส่งผลให้เกิดการปรับพฤติกรรมตนเองอย่างต่อเนื่อง การจัดกิจกรรมสาธิตอาหาร ทำให้ผู้ป่วยได้เห็นภาพการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ ส่งผลดีให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ต่อเนื่องทำให้ผลน้ำตาลในเลือดดีขึ้น ส่งผลให้ผลระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยดีขึ้น ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ45.16 ( ปี 2561 สามารถควบคุมได้ ร้อยละ 35.71 )  ผู้ป่วยเบาหวานไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า กิจกรรมที่ดำเนินงานมีดังนี้ ๑. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานตามหลัก 3อ2ส. พร้อมทั้งสาธิตอาหารที่เหมาะสม จำนวน 1 วัน ๒. จัดกิจกรรมกลุ่มวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ / พฤติกรรมสุขภาพโดยใช้ Body mapping มาวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพรายบุคคล จำนวน 5 ครั้ง ๓. เจาะเลือดปลายนิ้วทุก 1 เดือน จุดกราฟเส้นสีชี้ชะตาชีวิต
๔. เยี่ยมบ้านย่องครัว ดูพฤติกรรมการบริโภคอาหารรายบุคคล


ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh