กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพปีงบประมาณ 2562 นี้ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม (3) สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (4) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ในการดำเนินโครงการครั้งนี้ ผูู้รับผิดชอบโครงการได้จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายมอบให้แก่อสม. เพื่อนำไปมอบแก่กลุ่มเป้าหมาย และได้เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์มาให้ความรู้ และคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในหญิงกลุ่มวัย 30-60 ปี และนำทีม Pap smear จาก รพ.สต.โคกอ้นมาช่วยในการตรวจคัดกรองครั้งนี้ด้วย
จากการดำเนินโครงการนี้ มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 126 คน ผลการคัดกรองพบผู้มีความผิดปกติของมะเร็งเต้านม 2 รายส่งต่อโรงพยาบาลโคกโพธิ์ ส่วนผล Pap smear ได้นำส่งตรวจที่โรงพยาบาลโคกโพธิ์ พบผู้มีเซลล์ผิดปกติจำนวน 2 ราย ส่งต่อโรงพยาบาลปัตตานี มีการอักเสบจำนวน 55 ราย ติดเชื้อราจำนวน 17 ราย และติดเชื้อแบคทีเรียจำนวน 9 ราย ในรายที่มีการอักเสบ ติดเชื่อราและเชื้อแบคทีเรีย แพทย์ได้สั่งยารักษาทุกรายและนัดตรวจซ้ำในรายที่มีการอักเสบหลังได้รับยา 6 เดือน

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

1.ขั้นตอนในการจัดทำการอนุมัติโครงการหลายขั้นตอน ยุ่งยาก ทำให้โครงการดำเนินการล่าช้า และประกอบกับผู้เสนอโครงการมีประสบการณ์ในการจัดทำจัดซื้อจัดจ้างน้อย 2.ติดช่วงเทศกาลเดิอนรอมฎอน งานประเพณีต่างๆ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายมาตรวจไม่ได้ ต้องเลื่อนเวลาทำโครงการออกมา ททำให้รระยะเวลาการดำเนินโครงการจำกัด

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ