กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการนี้ มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 126 คน ผลการคัดกรองไม่พบผู้มีความผิดปกติของมะเร็งเต้านม ส่วนผล Pap smear ได้นำส่งตรวจที่โรงพยาบาลโคกโพธิ์ ยังไมทราบผลการตรวจ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสตรีที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมเพื่มมากขึ้น
0.80 1.00

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละสตรีที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักของโรคเพิ่มมากขึ้น
0.80 1.00

 

3 สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสตรีที่ได้รับการตรวจไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
0.20 0.20

 

4 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละสตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมทั้งหมด
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 126 126
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 126 126
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพปีงบประมาณ 2562 นี้ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม (3) สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (4) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ในการดำเนินโครงการครั้งนี้ ผูู้รับผิดชอบโครงการได้จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายมอบให้แก่อสม. เพื่อนำไปมอบแก่กลุ่มเป้าหมาย และได้เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์มาให้ความรู้ และคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในหญิงกลุ่มวัย 30-60 ปี และนำทีม Pap smear จาก รพ.สต.โคกอ้นมาช่วยในการตรวจคัดกรองครั้งนี้ด้วย
จากการดำเนินโครงการนี้ มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 126 คน ผลการคัดกรองพบผู้มีความผิดปกติของมะเร็งเต้านม 2 รายส่งต่อโรงพยาบาลโคกโพธิ์ ส่วนผล Pap smear ได้นำส่งตรวจที่โรงพยาบาลโคกโพธิ์ พบผู้มีเซลล์ผิดปกติจำนวน 2 ราย ส่งต่อโรงพยาบาลปัตตานี มีการอักเสบจำนวน 55 ราย ติดเชื้อราจำนวน 17 ราย และติดเชื้อแบคทีเรียจำนวน 9 ราย ในรายที่มีการอักเสบ ติดเชื่อราและเชื้อแบคทีเรีย แพทย์ได้สั่งยารักษาทุกรายและนัดตรวจซ้ำในรายที่มีการอักเสบหลังได้รับยา 6 เดือน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh