กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการ ส่งเสริมเด็กอายุ แรกเกิด - 60 เดือนรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2562

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมเด็กอายุ แรกเกิด - 60 เดือนรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2562

ชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2482-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2562 ถึงเดือน พฤษภาคม 2562

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - 60 เดือน

วันที่ 16 พฤษภาคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - 60 เดือน มีความรู้เรื่องการสร้างภูมิคุ้มกันโรค
  2. เด็กแรกเกิด - 60 เดือน ในเขตรับผิดชอบได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคขั้นพื้นฐานตามช่วงอายุดังนี้
    • ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 1 ปี ร้อยละ 95.24
    • ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 2 ปี ร้อยละ 96.97
    • ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 3 ปี ร้อยละ 98.28
    • ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 5 ปี ร้อยละ 69.97
  3. เด็กแรกเกิด - 60 เดือนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน จำนวน 1 คน (โรคหัด) เนื่องจากผู้ปกครองปฏิเสธการรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
  • ให้ความรู้เรื่องการดูแลเด็กหลังรับวัคซีนและอาการข้างเคียงของวัคซีน
  • ให้ความรู้เรื่องโรคระบาด และโรคติดต่อในเด็ก
  • ให้ความรู้การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยยึดหลักคำสอนของศาสนา
  • photo
  • photo

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 1 1                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 10,000.00 10,000.00                  
คุณภาพกิจกรรม 4 0                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

เด็กบางคนไม่ได้อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง บางคนผู้ปกครองไปทำงานมาเลเซีย หรือไปทำงานนอกพื้นที่ ก็จะพาเด็กไปเลี้ยงดูด้วยจึงทำให้ยากต่อการติดตามเด็กมารับวัคซีนตามเกณฑ์อายุได้

 

แนะนำให้ผู้ปกครองนำเด็กไปรับบริการวัคซีนยังสถานบริการสาธารณสุขที่ใกล้เคียง

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์
ผู้รับผิดชอบโครงการ