กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
สื่อสารและประชาสัมพันธ์ 1 ส.ค. 2562 5 ส.ค. 2562

 

ติดป้ายประชาสัมพันธ์เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนทราบถึงกิจกรรมที่จะจัดขึ้น

 

นักเรียนกลุ่มเป้าหมายรับทราบและให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรม

 

SSV.สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย 3 ส.ค. 2562 3 ส.ค. 2562

 

-จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ -ทดสอบความรู้ก่อนและหลัง -ให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับวงจรชีวิตของยุงลาย -แหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย -สาธิตการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย -กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายโดยสารวัตรนักเรียนปราบยุงลาย -ติดตามและประเมินความพึงพอใจ -สรุปผลการดำเนินกิจกรรม

 

นร.จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลูกน้ำยุงลาย อันเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก และกาป้องกัน/ควบคุมทำลายลูกน้ำยุงลายที่ถูกวิธีและเหมาะสม -ประเมินแบบทดสอบความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ -ผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลดลง -ประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการพบว่า ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจคิดเป็น 4.75 ฮยุ่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด

 

การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการรีไซเคิล 11 ส.ค. 2562 15 ต.ค. 2562

 

-ทดสอบความรู้ก่อนและหลัง -ให้ความรู้เรื่องขยะ -การคีดแยกขยะที่ถูกต้อง -ให้ความรู้เรื่องผลกระทบของขยะต่อสิ่งแวดล้อมกับโรคภัยต่างๆ -สาธิตการคัดแยกขยะ -กิจกรรมคัดแยกขยะ และพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน -นิเทศติดตาม และประเมินความพึงพอใจ -สรุปการดำเนินกิจกรรม

 

นร.ทั้ง 60 คน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี การลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆทำให้เกิดสุุขภาวะที่ดีแก่นร.และบุคลากรภายในรร.และสามารถนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะรีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 4.75 อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด

 

ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้านภัยยุงร้าย 11 ส.ค. 2562 15 ต.ค. 2562

 

-ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรมเชิงปฏิบัติการ -ให้ความรู้เรื่องสมันไพรไทยชนิดต่างๆที่มีฤทธิ์สามารถนำมาสกัดเป็นยาป้องกันยุงได้ -ให้ความรู้เรื่องวิธีการนำสมุนไพรไทยชนิดต่างๆที่มีฤทธิ์สามารถนำมาสกัดเป็นยาป้องกันยุงได้ -แบ่งกลุ่มนร.ทดลองทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้ายภัยยุงร้าย เ็นกลุ่มต่างๆดังนี้           -ธูปหอมกันยุง           -สเปรย์กันยุง           -ยาหม่องกันยุง -สาธิตและทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ -สรุปและรายงานผล -ติดตามและประเมินความพึงพอใจ -สรุปการดำเนินกิจกรรม

 

นร.ทั้ง 60 คน มีความรู้ และสามารถตอบคำถามเกี่ยวกับสมุนไพรที่สามารถนำมาใช้ทดแทนสารเคมีได้ทุกคน นร.สามารถลงมือปฏิบัติกิจกรรมทดลองทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง 3 ชนิด 1.ยาหม่องน้ำกันยุง 2.ธูปหอมกันยุง 3.สเปรย์สมุนไพรกันยุง

 

สรุปผลการดำเนินงาน 15 ต.ค. 2562 15 ต.ค. 2562

 

เตรียมเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน

 

เอกสารฉบับสมบูรณ์ 2 เล่ม