กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร เฝ้าระวังและสร้างกระแสสังคมการบริโภคอาหารและผลิตภัณ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี2660

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.ผลการดำเนินงาน ผลผลิต  :           
๑.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ได้รับการตรวจติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร และผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัยจำนวน  ๘ ร้าน
๒.ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็ก อายุ ๐-๕ ปี ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๔๕ คน
          ๓.ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน อสม. ผู้นำชุมชนแกนนำชุมชนหรือผู้ประกอบการแผงลอย  ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน  ๔๐  คน
          ๔.โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  ผ่านเกณฑ์ตามแบบประเมินตามข้อกำหนดสุขาภิบาล
๕. ร้านค้าผ่านเกณฑ์การตรวจด้านยาและเครื่องสำอาง ๒๓ ร้าน
๖.โรงเรียนผ่านเกณฑ์ อย.น้อย ๗.มีตัวอย่างแผงลอยจำหน่ายอาหาร No Form ๑ ร้าน ผลตัวชี้วัด :     ๑.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ได้รับการตรวจติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย จำนวน ๘ ร้าน ร้อยละ  ๑๐๐               ๒.ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็ก อายุ ๐-๕ ปี ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๔๕ คน ร้อยละ  ๑๐๐ มีความรู้เพิ่มขึ้น  จำนวน  ๓๘ คน ร้อยละ ๘๔.๔๔     ๓.ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน อสม. ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านชำ ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๔๐ คน ร้อยละ  ๑๐๐ มีความรู้เพิ่มขึ้น  จำนวน  ๓๕ คน ร้อยละ ๘๗.๕               ๔.โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  ผ่านเกณฑ์ตามแบบประเมินตามข้อกำหนดสุขาภิบาล
    ๕. ร้านค้าผ่านเกณฑ์การตรวจด้านยาและเครื่องสำอาง ๒๑ ร้าน ร้อยละ ๙๑.๓     ๖.โรงเรียนผ่านเกณฑ์ อย.น้อย     ๗.มีตัวอย่างแผงลอยจำหน่ายอาหาร No Form ๑ ร้าน         ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
          ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครอง อายุ ๐-๕ ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจสารเคมีตกค้างในตัวอย่างอาหาร  (น้ำยาSI2, แบบประเมินสุขาภิบาลอาหาร - บุคลากร/วัสดุปกรณ์ในการอบรม ( เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิล)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ร้านค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : 1.ร้านค้า แผงลอย โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการตรวจ ติดตาม ดูแลและเฝ้าระวัง ด้านสุขาภิบาลอาหาร ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย ร้อยละ90

 

2 ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียนมีความรู้อาหารปลอดภัย สุขาภิบาลอาหารสามารถเลือกซื้อและ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน อสม./ผู้นำชุมชนได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร และ มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ร้านค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค (2) ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียนมีความรู้อาหารปลอดภัย สุขาภิบาลอาหารสามารถเลือกซื้อและ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh