กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการและอนุกรรมการ มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ร้อยละ 90 %
0.00

 

 

 

2 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องบกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในชุมชนแก่คณะกรรมการกองทุน คณะทำงานควบคุมกำกับและติดตามประเมินผลกองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอและระดับจังหวัด
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ มีความรู้ ความเข้าใจในหลักกเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่น ร้อยละ 90 %
0.00

 

 

 

3 3. เพื่อพัฒนาและยกระดับศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอ (1อำเภอ 1 ศูนย์เรียนรู้) ให้สามารถเป็นกองทุนต้นฉบับแบบ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการกองทุนฯ ในระดับอำเภอและระดับจังหวัด
ตัวชี้วัด : พัฒนาและยกระดับศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอ เพื่อให้สามารถเป็นต้นแบบในการบริหารกองทุนสู่ระดับขึ้นไป ร้อยละ 90 %
0.00

 

 

 

4 4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนฯ และสามารถใช้ข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : สามารถสำรวจข้อมูลตามโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนฯ และสามารถใช้ข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของงานกองทุนในพื้นที่ ร้อยละ 90 %
0.00

 

 

 

5 5. เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน
ตัวชี้วัด : ติดตามและประเมินผลการดำเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ร้อยละ 90 %
0.00