กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างวินัยการจราจรและปฏิบัติตามกฎหมายจราจรด้วยการให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป ให้ได้รับความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน 2. เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในจุดเสี่ยงของชุมชนลงของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไปในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหลักที่ 1
1.1 การจัดเวทีให้ความรู้ในครั้งนี้ทางผู้จัดได้ขอความร่วมมือกับทางบริษัทพิธานภาณิชย์ปัตตานี จำกัดในการเป็นวิทยากรบรรยายและวิทยากรกระบวนการ ณ ห้องสัมมนาชั้น 6 อาคารเทคโนโลยีและสารสนเทศสำนักวิทยบริการ โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 133 คน เนื้อหาในการบรรยายประกอบไปด้วย - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย พรบ.ว่าด้วยการขับขี่ - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์รถจักรยายนต์ เช่น การสวมใสหมวกนิรภัยที่ถูกต้อง การตรวจความพร้อมของรถจักรยานยนต์ก่อนการขับขี่ - การดูแลบำรุงรักษาสภาพรถจักยานยนต์ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ - การเซฟตี้ตัวผู้ขับขี่ ขณะขับขี่รถจักยานยนต์ - ให้ความรู้เกี่ยวกับวินัยจราจร 1.2 เดินรณรงค์ถนนปลอดอุบัติเหตุภายในชุมชนและมหาวิทยาลัย
การเดินรณรงค์ปลอดอุบัติเหตุในครั้งนี้จะประกอบด้วยผู้เข้าร่วมจากคณะกรรมการดำเนินงานจัดกิจกรรมจำนวน 113 คน นักศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี โดยมีกิจกรรมต่างๆ ในการเดินขบวน ดั้งนี้
-มีการนำป้ายข้อความรณรงค์เสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน -มีมาสคอร์ตร่วมในการเดินขบวนรณรงค์เช่น มาสคอร์ตสัญญาณจราจร มาสคอร์ตสวมหมวกนิรภัย มาสคอร์ตการใช้ป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถ 1.3 กาจัดแสดงนิทรรศการด้านวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนน การจัดนิทรรศการ ทางผู้จัดได้ขอความความอนุเคราะห์วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนสื่อต่างๆ ในการจัดแสดงนิทรรศการด้านส่งเสริมวินัยจราจร จากสำนักงานขนส่ง จังหวัดยะลา ประกอบไปด้วยสื่อต่างๆดังนี้
-โปสเตอร์ รณรงค์การขับขี่ปลอดภัย -โปสเตอร์สัญลักษณ์เครื่องหมายจราจร -วารสารและแผ่นพับให้ความรู้เรื่องระเบียบวินัยจราจร -การฉายวีดีทัศน์เกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนน


(2) กิจกรรมหลักที่ 2 ผลจากการถอดบทเรียนจากผู้เข้าร่วมโครงการจากตัวแทนกลุ่มต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 : ตัวแทนจากกลุ่มนักศึกษาต่างประเทศ กลุ่มที่ 2 : ตัวแทนกลุ่มนักศึกษาไทย กลุ่มที่ 3 : แกนนำองค์การบริหารนักศึกษาชาย กลุ่มที่ 4 : แกนนำองค์การบริหารนักศึกษาหญิง กลุ่มที่ 5 : นักศึกษาทั่วไป

สรุปผลจากกลุ่มทั้ง 5 กลุ่ม ดังนี้ 1.จุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการใช้ถนนในชุมชน
จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงจุดเสี่ยงต่างๆที่มีอยู่ในชุมชนทั้งสิ้นประมาณ 8 จุดเสี่ยง คือ - 3 แยกสปอร์ตไลท์ - 3 แยกทางไป จาเราะบองอ - บริเวณหน้ากุโบร์โสร่ง - ทางเข้าบ้านโสร่งสายยะลา-ปัตตานี - ทางโค้งหน้า โรงเรียน บ้านต้นสน - 3แยกหัวโค้งมัสยิดจาโระสโตร์ - ทางแยกตัดทางหลวง ยะลา-ปัตตานี - ถนนเส้นหลังทางเข้ายะลา

  1. จุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการใช้ถนนในมหาวิทยาลัย จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงจุดเสี่ยงต่างๆที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น ประมาณ 10 จุดเสี่ยง คือ

- บริเวณหน้าประตูมหาวิทลัยฟาฏอนี - บริเวณซุ้มโค้งหน้าหอประชุมวันมูหะหมัดนอร์ มะทา - บริเวณทางโค้งคณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ - บริเวณทางโค้งทางขึ้นศูนย์กุรอาน - บริเวณทางขึ้นหอพัก - ถนนเส้นทางเข้าคณะศึกษาศาสตร์ - ถนนเส้นหน้ามัสยิดฮะรอมัยน์ทางไปคณะวิทยาศาสตร์ - ถนนหน้าสนามบาสเก็ตบอล - ทางขึ้นอาคารเฉลิมพระเกียรติ - วงเวียนหน้าหอประชุมวันมูหะหมัดนอร์ มะทา

  1. ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุในการใช้รถใช้ถนน จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุในการใช้รถใช้ถนนทั้งสิ้น ประมาณ 10 ปัจจัย

- ขับรถด้วยความประมาท - ไม่ทราบถึงกฎหมายจราจร - ไม่ทราบวิธีการใช้รถอย่างถูกวิธี - ทัศนวิสัยในการใช้ถนนไม่ดี - สภาพพื้นผิวถนนเป็นปัญหา - ป้ายสัญลักษณ์ไม่เพียงพอ - ไฟถนนไม่เพียงพอ - มีสัตว์เลี้ยงของชาวบ้านอยู่บนท้องถนน - จุดตรวจของทหารวางแคบเกินไปเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ - มีดินไสลด์ลงบนพื้นผิวถนน

  1. แนวทางการแก้ไขเพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุ จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงแนวทางการแก้ไขเพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุทั้งสิ้น ประมาณ 10 แนวทาง

- รณรงค์ให้ขับรถด้วยความไม่ประมาท - รณรงค์ให้ทราบถึงกฎหมายจราจร - รณรงค์ให้ทราบวิธีการใช้รถอย่างถูกวิธี - ปรับทัศนวิสัยในการใช้ถนนให้ดีขึ้น - แก้ไขสภาพพื้นผิวถนน - เพิ่มป้ายสัญลักษณ์จราจร ตาม 3 สาม และ 4 แยกให้เพียงพอ - เพิ่มไปกระพริบสีส้มตามตาม 3 สาม และ 4 แยกเพื่อให้การมองเห็นได้ชัด - เพิ่มไฟถนนให้เพียงพอ - จัดระเบียบสัตว์เลี้ยงของชาวบ้านไม่ให้มาอยู่บนท้องถนน - แก้ไขจุดตรวจของทหารให้เหมาะสมไม่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ - แก้ปัญหาดินไสลด์ลงบนพื้นผิวถนน (3) กิจกรรมหลักที่ 3 - จัดติดตามผลการดำเนินงาน -รวบรวมเอกสารเพื่อประกอบการสรุปผลการดำเนินงาน -สรุปโคงการเป็นเอกสารและพร้อมเข้าเล่ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)
- ให้นำผลจากการเสนอแนะแนวทางการแก้ไขของผู้เข้าร่วมโครงการไปพัฒนาตามความเหมาะสมต่อไป เช่น ให้มีการติดตั้งป้ายสัญลักษณ์จราจรและไฟเตือนตามสามแยกและสี่แยกต่างๆเพื่อเพิ่มความระมัดระวังให้กับผู้ขับขี่รถยนต์และรถจักรยานยนต์

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ