กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ตามที่มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานที่ 1 ให้ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ รู้จักป้องกันและหลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติดให้โทษ  สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรงโรคภัยอุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ  เห็นคุณค่าในตนเอง กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น  ดูแลตนเองให้มีสุขภาพแข็งแรง รักษาสุขภาพอนามัยส่วนตน และสารเสพติด ก่อให้เกิดปัญหาทั้งต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชนสังคม และประเทศชาติ ทั้งยังส่งผลกกระทบต่อสุขภาพ ของผู้เสพ สร้างปัญหาให้กับบุคคลรอบข้าง ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัฒน์และวัฒนธรรมตะวันตกทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า เช่นสื่อลามกในโลกอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้มีผลทำให้เยาวชน ขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ทางเพศของตนเอง  เยาวชนจึงมีเพศสัมพันธ์ในเวลาที่ไม่เหมาะสม และขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา  จึงส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ ในแม่วัยรุ่น การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์นับเป็นปัญหาสำคัญในสังคมปัจจุบันที่ต้องได้รับการแก้ไข ดังนั้นจึงเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายควรร่วมมือแก้ไขปัญหา และหาแนวทางป้องกันเพราะหากปล่อยปละละเลย จะยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น
    โรงเรียนเห็นความสำคัญของปัญหานี้จึงจัดกิจกรรมรณรงค์ และให้ความรู้แก่เยาวชน เพื่อป้องและแก้ไขปัญหาลดลง และมีแนวทางป้องกันจากปัญหาดังกล่าว โดยให้นักเรียนและเยาวชนมีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์ มีการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเพื่อน  เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ฝึกให้นักเรียนได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละด้าน โดย การแก้ไขและการป้องกันปัญหาดังกล่าว

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับสารเสพติด (2) เพื่อให้นักเรียนมีเกราะป้องกันตนเองจากสารเสพติดและสิ่งมึนเมา หลีกเลี่ยงภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง และสามารถเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสารเสพติดให้แก่เพื่อนนักเรียน บุคลากร และชุมชนได้ (3) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ