กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับสารเสพติด นักเรียนมีเกราะป้องกันตนเองจากสารเสพติดและสิ่งมึนเมา หลีกเลี่ยงภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง และสามารถเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสารเสพติดให้แก่เพื่อนนักเรียน บุคลากร และชุมชนได้ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับสารเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 90 มีทักษะชีวิต มีภูมิคุ้มกัน ได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของปัญหายาเสพติด
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีเกราะป้องกันตนเองจากสารเสพติดและสิ่งมึนเมา หลีกเลี่ยงภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง และสามารถเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสารเสพติดให้แก่เพื่อนนักเรียน บุคลากร และชุมชนได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้ปัญหาที่เกิดจากสารเสพติด ปัญหาชีวิต ปัญหาสุขภาพ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันปัญหาอันอาจจะเกิดขึ้นได้กับตนเองและคนรอบข้าง
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีทักษะชีวิต มีภูมิคุ้มกันพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยจากการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์และปลอดภัยจากความรุนแรงทางเพศ อบายมุขและสิ่งเสพติด 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น 3.นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 130
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ตามที่มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานที่ 1 ให้ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ รู้จักป้องกันและหลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติดให้โทษ  สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรงโรคภัยอุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ  เห็นคุณค่าในตนเอง กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น  ดูแลตนเองให้มีสุขภาพแข็งแรง รักษาสุขภาพอนามัยส่วนตน และสารเสพติด ก่อให้เกิดปัญหาทั้งต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชนสังคม และประเทศชาติ ทั้งยังส่งผลกกระทบต่อสุขภาพ ของผู้เสพ สร้างปัญหาให้กับบุคคลรอบข้าง ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัฒน์และวัฒนธรรมตะวันตกทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า เช่นสื่อลามกในโลกอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้มีผลทำให้เยาวชน ขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ทางเพศของตนเอง  เยาวชนจึงมีเพศสัมพันธ์ในเวลาที่ไม่เหมาะสม และขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา  จึงส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ ในแม่วัยรุ่น การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์นับเป็นปัญหาสำคัญในสังคมปัจจุบันที่ต้องได้รับการแก้ไข ดังนั้นจึงเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายควรร่วมมือแก้ไขปัญหา และหาแนวทางป้องกันเพราะหากปล่อยปละละเลย จะยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น
    โรงเรียนเห็นความสำคัญของปัญหานี้จึงจัดกิจกรรมรณรงค์ และให้ความรู้แก่เยาวชน เพื่อป้องและแก้ไขปัญหาลดลง และมีแนวทางป้องกันจากปัญหาดังกล่าว โดยให้นักเรียนและเยาวชนมีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์ มีการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเพื่อน  เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ฝึกให้นักเรียนได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละด้าน โดย การแก้ไขและการป้องกันปัญหาดังกล่าว

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับสารเสพติด (2) เพื่อให้นักเรียนมีเกราะป้องกันตนเองจากสารเสพติดและสิ่งมึนเมา หลีกเลี่ยงภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง และสามารถเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสารเสพติดให้แก่เพื่อนนักเรียน บุคลากร และชุมชนได้ (3) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh