กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ผลการดำเนินงาน
  1. ได้มีการรณรงค์ออกประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ในวันประชุมประจำเดือนหมู่บ้าน และวันประชุมประจำเดือน อสม.
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90.12
  3. กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 359 คน ซึ่งเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกจำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 17.54 ผลปกติ จำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 100

- ระยะเวลาดำเนินการและสถานที่ดำเนินการ วันที่ 10 เมษายน 2562 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง - งบประมาณ 11,070 บาท รายละเอียดดังนี้ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 63 คน x 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน  1,575  บาท 2. ค่าอาหารว่างสำหรับวิทยากร/อสม. จำนวน  26 คน x 2 มื้อ x 25 บาท
เป็นเงิน 1,300 บาท 3. ค่าอาหารกลางวันสำหรับวิทยากร/อสม จำนวน 26 คน x50 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท 4. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง x 2 คน  300 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 5. Roll Up ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก ขนาด 60 ซม. x 160 ซม. จำนวน 3 ป้าย x 1,000 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 6. ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญผู้เข้าอบรม จำนวน 290 แผ่นx 0.50 บาท เป็นเงิน 145 บาท 7. ค่าถ่ายเอกสารหนังสือแจ้งผลการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 150 แผ่น x 0.50 บาท  เป็นเงิน 75 บาท 8. ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มบันทึกการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 150 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 75  บาท - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน : ประชาชนบางส่วนที่ไม่เข้ารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกยังมีความอายไม่กล้ามาตรวจและไม่ให้ความสำคัญในการเข้าร่วมกิจกรรม - แนวทางแก้ไข : ติดต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากโรงพยาบาลควนขนุนมาให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และควรให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลอื่นได้ และควรจัดทำคู่มือเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/เต้านม เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/เต้านม อย่างทั่วถึง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 2หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 3 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น
ตัวชี้วัด : ข้อ 1 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยร้อยละ 50 ข้อ 2 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ80 ข้อ 3 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น ร้อยละ 100
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 396
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 396
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก  ข้อ 2หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 3 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้ตรวจและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยวิทยากร /ตรวจมะเร็งปากมดลูก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh