กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ผลการดำเนินงาน
    กิจกรรมอบรมผู้ประกอบร้านชำ จำนวน 31 ร้าน ร้านอาหาร 7 ร้าน รวม 38 ร้าน
  • ผ่านการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องอาหาร และยา ในการปรับปรุงข้อกำหนดที่ได้มาตรฐานของ ร้านอาหาร ร้านชำ ได้ร้อยละ 94
  • ประชาชนบริโภคอาหารที่สะอาดถูกหลักสุขาภิบาล และร้านอาหาร มีมาตรฐานสะอาดปลอดภัย
  • การสุขาภิบาลอาหารของพื้นที่ ได้มาตรฐาน โดยประชาชนมีสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตที่ดีและ เกิดบูรณาการในการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -ร้านอาหาร/ร้านชำ ที่ผ่านข้อกำหนดมาตรฐาน ด้ายกายภาพ จะได้รับการส่งเสริมตรวจประเมินร้าน
    ด้านชีวภาพต่อไป -ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสำอาง ที่มีคุณภาพ จำหน่ายให้กับประชาชน -ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยา แต่ละชนิด และสามารถเลือกจำหน่ายเฉพาะยาสามัญ ประจำบ้านได้ -เครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภค สามารถให้ความรู้ และคำแนะนำในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ ประชาชน และผู้ประกอบการได้
  • ระยะเวลาดำเนินการและสถานที่ดำเนินการ วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
  • งบประมาณ 4,200 บาท กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขแก่ภาคีเครือข่าย ได้แก่ อสม.กลุ่มเจ้าของร้าน และกลุ่มภาคีเครือข่าย งบประมาณ 4,200 บาท รายละเอียดดังนี้ 1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 60 คน x
    25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน  1,500 บาท
    2 ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท 3 ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม จำนวน 60 ชุด x 30 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ผลที่ได้รับ 1.ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสำอาง ที่มีคุณภาพ จำหน่ายให้กับประชาชนได้
  1. มีความรู้เรื่องประเภทของยา แต่ละชนิด และสามารถเลือกจำหน่ายเฉพาะยาสามัญประจำบ้านได้
  2. เครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภค สามารถให้ความรู้ และคำแนะนำในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชน และผู้ประกอบการได้

- ปัญหา/อุปสรรค : ผู้ประกอบการบางรายไม่มา ส่งตัวแทนมาอบรม อาจได้รับการถ่ายทอดความรู้ ความความใจ ที่คลาดเคลื่อนได้ - แนวทางการแก้ไข : จัดทำแจกเอกสาร แผ่นพับ การดำเนินงานงานคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อนำไปศึกษาเพิ่มเติมให้แก่ผู้ประกอบการร้านค้า

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบร้านค้าและจำหน่ายอาหาร ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มพูนความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ข้อ 3 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ข้อ 1กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ข้อ2กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องไม่หลงเชื่อโฆษณาที่มีลักษณะโอ้อวดเกินจริง ข้อ 3ร้านชำในชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพปลอดภัยได้มาตรฐานมาจำหน่ายคลอบคลุมร้อยละ 100
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 60 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบร้านค้าและจำหน่ายอาหาร ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มพูนความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ข้อ 3 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขแก่ภาคีเครือข่าย ได้แก่ อสม.กลุ่มเจ้าของร้าน และกลุ่มภาคีเครือข่าย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh