กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โรคจิตเวช เป็นโรคสำคัญทางสาธารสุข เป็นโรคที่มีอาการแสดงที่ส่งผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม จากข้อมูลงานด้านสุขภาพจิตในตำบลแป-ระพบว่า มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในปี 2559-2561มีจำนวนผู้ป่วย 31 ราย (18 ราย,25 ราย,และ 31 ราย ตามลำดับ) พบว่าอัตราการกำเริบซ้ำของโรค ทำให้ต้องเข้ารับการรักษาโรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์ในปี 2559 มีจำนวน 1 ราย ปี 2560 มีจำนวน 3 ราย ปี 2561 มีจำนวน 4 รายซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการกำเริบซ้ำ พบว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดการกำเริบซ้ำของโรค เนื่องจากผู้ป่วยและญาติขาดความรู้และความเข้าใจ เรื่องโรค ไม่เห็นความสำคัญในการรับประทานยา มีการใช้สารเสพติด และสิ่งกระตุ้น เช่น บุหรี่ กาแฟ และส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักจะบกพร่องในการดูแลกิจวัตรประจำวัน การจัดการความเครียดไม่เหมาะสม เช่น ขาดทักษะในการสื่อสารทางสังคมสร้างความวุ่นวายในชุมชน ส่งผลให้ญาติและคนในชุมชน เกิดความเบื่อหน่าย หวาดกลัว ไม่กล้าเข้าใกล้ ไม่ยอมรับ หวาดกลัวผู้ป่วย รู้สึกเป็นภาระ           นอกจากนี้ยังพบอีกว่าปัญหาการพยายามฆ่าตัวตายในเขตตำบลแป-ระ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559-2561  มีจำนวนทั้งหมด 2 ราย และฆ่าตัวตายสำเร็จมีจำนวนทั้งหมด 3 ราย จากข้อมูลปัญหาดังกล่าวข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ประชาชนในเขตตำบลแป-ระ มีแนวโน้มที่จะส่งผล ด้านปัญหาสุขภาพจิตสูงขึ้นในอนาคต ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลแป-ระ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาความรู้แกนนำสุขภาพจิตในเขตตำบลแป-ระ เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.3 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน 2.4 เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 จัดประชุมคณะทำงานเครือข่ายสุขภาพจิต (อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 2 คน และเจ้าหน้าที่รพสต.แป-ระ 2 คน รวมจำนวน 16 คน) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการณ์ การดูแล ป้องกัน และการจัดการปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน(กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 5 คน จำนวน 35 คน) (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามเยี่ยมและค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชโดยผู้เข้าอบรม จำนวน 2 ครั้ง (4) กิจกรรมที่ 4 ถอดบทเรียนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการประชุมกลุ่มย่อย จำนวน 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ