กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

7.1. กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน/ผู้นำชุมชน มีความรู้ และทักษะในการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ผู้ป่วย จิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม
7.2. กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน/ผู้นำชุมชน (แกนนำสุขภาพจิต) มีการรวมกลุ่มและดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
7.3. ผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตตำบลแป-ระ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.3 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน 2.4 เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.1 เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.3 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน 2.4 เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน
35.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โรคจิตเวช เป็นโรคสำคัญทางสาธารสุข เป็นโรคที่มีอาการแสดงที่ส่งผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม จากข้อมูลงานด้านสุขภาพจิตในตำบลแป-ระพบว่า มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในปี 2559-2561มีจำนวนผู้ป่วย 31 ราย (18 ราย,25 ราย,และ 31 ราย ตามลำดับ) พบว่าอัตราการกำเริบซ้ำของโรค ทำให้ต้องเข้ารับการรักษาโรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์ในปี 2559 มีจำนวน 1 ราย ปี 2560 มีจำนวน 3 ราย ปี 2561 มีจำนวน 4 รายซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการกำเริบซ้ำ พบว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดการกำเริบซ้ำของโรค เนื่องจากผู้ป่วยและญาติขาดความรู้และความเข้าใจ เรื่องโรค ไม่เห็นความสำคัญในการรับประทานยา มีการใช้สารเสพติด และสิ่งกระตุ้น เช่น บุหรี่ กาแฟ และส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักจะบกพร่องในการดูแลกิจวัตรประจำวัน การจัดการความเครียดไม่เหมาะสม เช่น ขาดทักษะในการสื่อสารทางสังคมสร้างความวุ่นวายในชุมชน ส่งผลให้ญาติและคนในชุมชน เกิดความเบื่อหน่าย หวาดกลัว ไม่กล้าเข้าใกล้ ไม่ยอมรับ หวาดกลัวผู้ป่วย รู้สึกเป็นภาระ           นอกจากนี้ยังพบอีกว่าปัญหาการพยายามฆ่าตัวตายในเขตตำบลแป-ระ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559-2561  มีจำนวนทั้งหมด 2 ราย และฆ่าตัวตายสำเร็จมีจำนวนทั้งหมด 3 ราย จากข้อมูลปัญหาดังกล่าวข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ประชาชนในเขตตำบลแป-ระ มีแนวโน้มที่จะส่งผล ด้านปัญหาสุขภาพจิตสูงขึ้นในอนาคต ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลแป-ระ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาความรู้แกนนำสุขภาพจิตในเขตตำบลแป-ระ เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตในชุมชน 2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชอย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.3 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน 2.4 เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องในชุมชนและลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแกนนำสุขภาพจิตในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 จัดประชุมคณะทำงานเครือข่ายสุขภาพจิต (อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 2 คน และเจ้าหน้าที่รพสต.แป-ระ 2 คน รวมจำนวน 16 คน) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการณ์ การดูแล ป้องกัน และการจัดการปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน(กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 5 คน จำนวน 35 คน) (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามเยี่ยมและค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชโดยผู้เข้าอบรม จำนวน 2 ครั้ง (4) กิจกรรมที่ 4 ถอดบทเรียนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการประชุมกลุ่มย่อย จำนวน 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh