กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในครัวเรือน ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2562 ได้มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน 40 ราย แบ่งเป็นกลุ่มเยาวชน 20 ราย และกลุ่มผู้ที่มีภาวะความเสี่ยง 20 ราย
ผลผลิตของโครงการได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสมุนไพรท้องถิ่นเกินร้อยละ 80 และสามารถนำไปใช้เบื้องต้นได้เกินร้อยละ 50

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในครัวเรือน ในการรักษาโรคเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ50ของครัวเรือน มีการปลูกและใช้สมุนไพร อย่างน้อย 3 ชนิด
40.00 10.00 40.00

เกินร้อยละ 50 ที่มีการปลูกและการใช้สมุนไพรอย่างน้อย 3 ชนิด

2 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรและสามารถถ่ายทอดสู่ชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรและสามารถถ่ายทอดสู่ชุมชนได้
40.00 10.00 40.00

เกินร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความใจในเรื่องสมุนไพรและสามารถถ่ายทอดสู่ชุมชนได้

3 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนปลูกสมุนไพรใช้ในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : มีสวนสมุนไพรสาธิตจำนวน 1 แห่ง“สวนสมุนไพรบ้านไอสะเตียร์”
40.00 10.00 40.00

มีสวนสาธิตในชุมชน "สวนสมุนไพรบ้านไอสะเตียร์"

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 20
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในครัวเรือน ในการรักษาโรคเบื้องต้น (2) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรและสามารถถ่ายทอดสู่ชุมชนได้ (3) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนปลูกสมุนไพรใช้ในท้องถิ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.อบรมทางกลุ่มและชาวบ้านให้รู้จักสรรพคุณทางยาของสมุนไพรและสามารถนำมาใช้รักษาโรคได้เบื้องต้น (2) ๒. จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติ เพาะปลูกสมุนไพรเพื่อจัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสมุนไพร (3) ๓.ติดตามสวนสมุนไพรและการปรับปรุงเพื่อจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน (4) อบรมทางกลุ่มและชาวบ้านให้รู้จักสรรพคุณทางยาของสมุนไพรและสามารถนำมาใช้รักษาโรคได้เบื้องต้น (5) อบรมทางกลุ่มและชาวบ้านให้รู้จักสรรพคุณทางยาของสมุนไพรและสามารถนำมาใช้รักษาโรคได้เบื้องต้น (6) จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติ เพาะปลูกสมุนไพรเพื่อจัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสมุนไพร (7) ติดตามสวนสมุนไพรและการปรับปรุงเพื่อจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh