กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อย)(ขนาด 13)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 0-2 ปีที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อย) ลดลง 50
13.00 7.00

 

2 2.เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(ค่อนข้างเตี้ย,เตี้ย)(ขนาด 10)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 0-2 ปีที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(ค่อนข้างเตี้ย,เตี้ย) ลดลง 50
10.00 5.00

 

3 2.เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักมาก,ค่อนข้างมาก)(ขนาด 5)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 0-2 ปีที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักมาก,ค่อนข้างมาก) ลดลง 60
5.00 3.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนในศูนย์เด็กเล็กและเด็กเล็กได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนในศูนย์เด็กเล็กบ้านวังประจันและเด็กเล็กในชุมชนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 100
0.00

 

5 เพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกได้โดย วิถี SELF CARE
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 208
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 208
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อย)(ขนาด 13) (2) 2.เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(ค่อนข้างเตี้ย,เตี้ย)(ขนาด 10) (3) 2.เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักมาก,ค่อนข้างมาก)(ขนาด 5) (4) เพื่อให้นักเรียนในศูนย์เด็กเล็กและเด็กเล็กได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช (5) เพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกได้โดย วิถี SELF CARE

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก 0 – 2  ปี  ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา (2) ประชุมชี้แจงแก่คณะทำงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน (3) จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ (4) เตรียมประชุม วางแผนในการดำเนินโครงการระหว่างเจ้าหน้าที่ และนักจัดการสุขภาพประจำตำบลเพื่อเตรียมชุมชน สถานที่ เด็ก 0-2 ปี และผู้ปกครองในกลุ่มเป้าหมาย ตามวันเวลาที่ออกดำเนินการ (5) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการFocusgroup เกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐานเมนูพื้นบ้าน ความรู้สู่การปฏิบัติ แก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีน้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อยจำนวน13 คน เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลบุตรโดยออกตามหมู่บ้านหมู่บ้านละ 1วัน (6) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการFocusgroup เกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐานเมนูพื้นบ้าน ความรู้สู่การปฏิบัติ แก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีค่อนข้างเตี้ย,เตี้ยจำนวน10 คน เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลบุตรโดยออกตามหมู่บ้านหมู่บ้านละ 1วัน (7) เรียนรู้โดยการ  Focus  group  เกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐาน  เมนูพื้นบ้าน ความรู้สู่การปฏิบัติ แก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีน้ำหนักมาก,ค่อนข้างมาก  จำนวน  5 คน เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลบุตร  โดยออกตามหมู่บ้านหมู่บ้านละ 1  วัน (8) จัดเสวนา เรื่องทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและฝึกภาคปฏิบัติ ทักษะการแปรงฟันให้แก่ลูก (9) กิจกรรมติดตามเยี่ยมเด็กทุพโภชนาการ  3 ครั้ง (10) สรุป/ประเมินภาวะโภชนาการและรายงานผล    ในเด็กที่มีภาวะที่พบขาดสารอาหารรุนแรงประสานงานกับโรงพยาบาลควนโดนเพื่อส่งเข้าคลินิกรักษาต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh