กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้พิการและญาติมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง การเสริมสร้างสุขภาพ และการป้องกันโรคอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้พิการและญาติมีระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง การเสริมสร้างสุขภาพ และการป้องกันโรคเพิ่มขึ้น (หลังจากเสร็จสิ้นโครงการ)
80.00 92.85

ประเมินความรู้แกนนำอาสาดูแลผู้พิการก่อนและหลังเข้ารับการอบรม

2 2.เพื่อพัฒนาด้านองค์ความรู้และทักษะของแกนนำจากภาคีเครือข่ายผู้ดูแลผู้พิการ ในการดูแลผู้พิการที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้และผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่องที่บ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำจากภาคีเครือข่ายผู้ดูแลผู้พิการมีระดับความรู้และมีทักษะในการดูแลผู้พิการเพิ่มขึ้น (หลังจากเสร็จสิ้นโครงการ)
80.00 81.80

การตอบคำถาม การฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค

3 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพผู้ป่วยผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหมู่บ้านเกิดทีมเครือข่ายการดูแลสุขภาพผู้ป่วยผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน
100.00 100.00

เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพผู้ป่วย ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ทั้งหมด 7 หมู่บ้าน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 208 238
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 180 220
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 28 18
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้พิการและญาติมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง การเสริมสร้างสุขภาพ และการป้องกันโรคอย่างถูกต้อง (2) 2.เพื่อพัฒนาด้านองค์ความรู้และทักษะของแกนนำจากภาคีเครือข่ายผู้ดูแลผู้พิการ ในการดูแลผู้พิการที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้และผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่องที่บ้าน (3) 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพผู้ป่วยผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน สรุปผลการดำเนินโครงการที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ขั้นเตรียมการ ได้ดำเนินการดังนี้ 1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อเสนอโครงการให้ประธานอนุมัติและดำเนินการพิจารณาโครงการ รอบที่ 1 วันที่ 15 มีนาคม 2562 2. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของดครงการแก่ จนท.,อสม.,ผู้นำชุมชน และตัวแทนผู้ดูแลผู้พิการในเดือนพฤษภาคม 2561 3. ประสานวิทยากร และสถานที่ฝึกอบรม 4. ประสานรับสมัคร/คัดเลือกทีมเครือข่ายอาสาสมัครแกนนำผู้ดูแผู้พิการโดยแกนนำหมู่บ้านละ 4 คน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน 1 คน อาสาสมัคร/จิตอาสา 3 คน (รวมทั้งหมด 28 คน) โดยดำเนินการในเดือนมิถุนายน 2562 ขั้นดำเนินการ ได้ดำเนินการดังนี้ 1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้พิการ ญาติผู้ดูแล และแกนนำอาสาดูแลผู้พิการ 2. จัดตั้งทีมดูแลสุขภาพผู้พิการในชุมชน 3. กิจกรรมเยี่ยมบ้านเพื่อดูแลสุขภาพผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงแบบองค์รวม 4. เปิดช่องทางสื่อสาร

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh