กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ๑. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญ ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ๑. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่น้อยว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
0.00

 

 

จากการดำเนินงาน ผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชนทั้ง ๗ ชุมชน
- ปี 2561 พบว่าจำนวนประชากรทั้ง ๗ ชุมชน จำนวน 7,596 คน มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๑3 ราย คิดเป็น ๑71.14 ต่อประชากรแสนคน
- ปี 2562 พบว่าจำนวนประชากรทั้ง ๗ ชุมชน จำนวน 7,๙๓๕ คน มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 8 ราย คิดเป็น ๑00.82 ต่อประชากรแสนคน
  เมื่อเทียบจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง พบว่า มีจำนวนผู้ป่วย ปี2557 จำนวน 19 ราย ปี 2558 จำนวน 20 ราย ปี 2559 จำนวน 18 ราย ปี 2560 จำนวน 14 ราย และในปี 2561 จำนวน 13 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก    ปี 2562 มีจำนวน 8 ราย จึงน้อยกว่าค่ามัธยฐาน   ดังนั้น เมื่อเทียบจำนวนผู้ป่วย ปี ๒๕61 พบว่าจำนวนผู้ป่วย มี ๑3 ราย คิดเป็น ๐.๑7 และปี ๒๕๖2 จำนวนผู้ป่วย มี 8 ราย คิดเป็นร้อยละ ๐.๑0 ซึ่งมีจำนวนลดลง

2 ๒. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : ๒. ค่า HI < ๑๐
10.00

 

 

จากกิจกรรมสุ่มสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคทุก ๓ เดือน ดังนี้ - เดือน มี.ค. ๖2 พบว่าค่า HI = 9.98 - เดือน พ.ค. ๖2 พบว่าค่า HI = 9.41 - เดือน ก.ค. ๖2 พบว่าค่า HI = 8.26   จากการดำเนินงานทั้ง ๓ เดือน พบว่าค่า HI เฉลี่ย = 9.๒๑