กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล   เมื่อกล่าวถึง "วัคซีน" หลายคนจะนึกถึงการให้วัคซีนในเด็กเป็นอันดับแรก ที่เป็นเช่นนี้เพราะปัจจุบันวัคซีนที่ใช้ในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคส่วนใหญ่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยเรียน เนื่องจากวัยเด็กเป็นช่วงที่ร่างกายกำลังพัฒนา รวมถึงอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันด้วย จึงมีความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคต่างๆได้ง่าย และความรุนแรงของโรคอาจส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต พัฒนาการและชีวิต เด็กจึงควรได้รับวัคซีนโรคต่างๆ ที่จำเป็นเพื่อเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ปลอดจากโรคที่อาจทำให้ป่วยและเป็นอันตรายได้   การฉีดวัคซีนในเด็กทำเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายมีระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคสูงขึ้นเพียงพอที่จะป้องกันโรคได้ในระยะเวลานาน ป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง ขัดขวางการแร่ระบาด และลดผลกระทบร้ายแรงของโรคในเด็กโดยเฉพาะ โรคหัด คอตีบ ไอกรน และโปลิโอ ที่ล้วนเป็นสาเหตุเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญของเด็ก ซึ่งทางองค์การอนามัยโลกเคยประเมินว่า การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนสามารถลดอัตราการตายในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ทั่วโลก จาก 13 ล้านคนใน พ.ศ. 2533 เหลือ 9 ล้านคนใน พ.ศ. 2551 ดังนั้นการให้วัคซีนในวัยเด็กเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง   ที่ผ่านมานั้นสถานการณ์ของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประเทศโดยเฉพาะโรคที่สำคัญ เช่น โรคไวรัสตับอักเสบบี วัณโรค และโรคคอตีบนั้น จากการรณรงค์โรคไวรัสตับอักเสบบี 2556 พบผู้มารับบริการตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบบีโดยโดยกรมควบคุมโรคร่วมกับโรงพยาบาลให้ผลบวกจากการคัดกรองฯเท่ากับ 1,273 ราย ตั้งแต่ พ.ศ. 2554-2556 พบผู้ป่วยโดยประมาณ 6,000 รายต่อปี ในขณะที่พบผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ โดยเฉลี่ยประมาณ 30,000 ราย นอกจากนี้ยังพบว่า สถานการณ์โรคคอตีบในปี 2554-2556 ยังพบผู้ป่วย 28,63,และ 29 รายต่อปี ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าโรคเหล่านี้เป็นโรคที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและอาจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ แม่ว่าทางกระทรวงสาธารณสุขจะมีการสนับสนุนวัคซีนป้องกันโรคดังกล่าวในเด็กแล้วก็ตาม     จากการดำเนินงานสร้างภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ของ รพ.สต.บ้านใหม่ พบว่า ในปี 2561 มีเด็ก0-5 ปี มารับบริการฉีดวัคซีนเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค เฉลี่ย 71 คนต่อเดือน และมีเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด เฉลี่ย 13 คนต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ 18.30 ซึ่งการที่เด็กได้รับวัคซีนไม่ตรงตามกำหนด เช่น ได้รับวัคซีนก่อนหรือหลังเกณฑ์กำหนด หรือ ระยะห่างในการรับวัคซีนแต่ละชนิดไม่ถูกต้อง จะส่งผลให้ประสิทธิภาพในการป้องกันโรคของวัคซีนบางชนิดลดลง หรือ ทำให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ทั้งนี้ปัญหาที่พบส่วนหนึ่งเกิดจากผู้ปกครองเด็กที่ไม่พาเด็กมารับวัคซีนตามนัด เนื่องจากเหตุผลต่างๆ เช่น ไม่มาวันนัด ติดธุระ ภารกิจสำคัญในวันที่มีการฉีดวัคซีน วัคซีนไม่มีฮาลาล หรือพาเด็กย้ายออกนอกพื้นที่อื่น เป็นต้น     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านใหม่ ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับกลุ่มเด็ก 0-5 ปี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์เด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ ปีงบประมาณ 2562 ขึ้น เพื่อเร่งรัดและรณรงค์ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ