กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได้กำหนดมาตรฐานการส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงออก และมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ โดยมีการกำหนดเป้าหมายของผู้เรียน ให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี สุขภาพของเด็กควรจะได้รับการส่งเสริมการพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และมีความสามารถในการเรียนรู้ โรคฟันผุในเด็กเล็กนับเป็นปัญหาหนึ่งด้านสุขภาพที่พบมากในเด็กเล็ก อีกทั้งฟันผุในฟันน้ำนมมีการลุกลาม การป้องกันโรคฟันผุในเด็กเล็กต้องอาศัยความร่วมมือของผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเพื่อช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุในวัยเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา (ขั้นพัฒนา) มาตรฐานที่ 10 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดสภาพแวดล้อมและบริการที่ส่งเสริมผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติเต็มศักยภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน มาตรฐานที่ 19 ผู้เรียนมีสุขนิสัย และสุขภาพกายที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ 19.1 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันตนเองไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ ตัวบ่งชี้ที่ 19.2 มีน้ำหนัก ส่วนสูง สุขภาพอนามัยและพัฒนาการทางด้านร่างกายตามวัย และการบริหารจัดการให้เป็นไปอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกยา จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยฟันสวย สุขภาพดีขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมและส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกยา ให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็กได้มีความรู้ ความเข้าใจ มีสุขภาพอนามัยที่ดี และสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้องเหมาะสมตามวัย

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาเด็กฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกยา (2) เพื่อให้เด็ก มีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ปกติ (3) เพื่อส่งเสริมเด็กให้ได้รับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ครบ 5 หมู่ (4) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัยที่ดีของเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ