กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

การสร้างเสริมสุขภาพหมายถึงกระบวนการ เพิ่มความสามารถของกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งอาจเป็น บุคคลครอบครัวกลุ่ม หรือชุมชน เพื่อควบคุมปัจจัย ที่มีผลต่อสุขภาพและเป็นการพัฒนาสุขภาพให้ดีขึ้น หรืออีกนัยหนึ่งเป็นการยกระดับสุขภาพให้ดำรง อยู่กับสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุลตามศักยภาพของ ตนเอง นอกจากนั้นการสร้างเสริมสุขภาพยังเป็นการให้ อำนาจและการตัดสินใจด้านสุขภาพและดำเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ รวมทั้ง จัดระบบเพื่อนำแหล่งประโยชน์ต่าง ๆ ในชุมชน ทั้ง ด้านการวิชาการความรู้สังคม และสิ่งแวดล้อมมาใช้ เพื่อเกื้อกูล ให้บุคคลมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและได้รับ การสร้างเสริมที่เหมาะสมตามวัย ซึ่งกระบวนการ สร้างเสริมสุขภาพจะเกิดขึ้นได้จากปัจจัยที่มา 2 ประการ คือ ประการแรกจากบุคคลอื่นภายนอกที่ ช่วยกระตุ้นส่งเสริม เช่น เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือ บุคลากรทีมสุขภาพ บิดา มารดา หรือผู้ดูแลใน ครอบครัว และประการที่สองเกิดขึ้นจากแรงจูงใจ ภายในตนเองที่ต้องการบรรลุความสุขสูงสุดของชีวิต ซึ่งเป็นสิ่งที่ปรารถนามากที่สุดและจะเกิดอยู่ยั่งยืน
  คณะกรรมการมัสยิดบ้านคลองอ้ายโตได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย 3 กลุ่มวัย ได้แก่ วัยเรียนจำนวน 238 คน วัยทำงานจำนวน  1,433  คน และวัยผู้สูงอายุจำนวน 358 คน โดยการเชิญชวนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักในการดูแลสุขภาพ เพื่อการมีสุขภาพดี อัน เป็นพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญในการออกกำลังกายสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง (2) เพื่อสร้างความต่อเนื่องและยั่งยืนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ไปสู่พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการ (2) กิจกรรมประชุมให้ความรู้กลุ่มย่อยประจำเดือนๆละ 1 ครั้งพร้อมทั้งร่วมกันออกกำลังกายกาย (3) กิจกรรมจัดนิทรรศการให้ความรู้หลังการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ