กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นในการตระหนักและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

2.ประชาชนมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง มีการจัดตั้งชมรมดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 3.กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มวัยมีความรู้เพิ่มขึ้นในการดูแลสุขภาพของตนเอง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญในการออกกำลังกายสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นในการตระหนักและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
0.00

 

2 เพื่อสร้างความต่อเนื่องและยั่งยืนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ไปสู่พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง มีการจัดตั้งชมรมดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มวัยมีความรู้เพิ่มขึ้นในการดูแลสุขภาพของตนเอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

การสร้างเสริมสุขภาพหมายถึงกระบวนการ เพิ่มความสามารถของกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งอาจเป็น บุคคลครอบครัวกลุ่ม หรือชุมชน เพื่อควบคุมปัจจัย ที่มีผลต่อสุขภาพและเป็นการพัฒนาสุขภาพให้ดีขึ้น หรืออีกนัยหนึ่งเป็นการยกระดับสุขภาพให้ดำรง อยู่กับสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุลตามศักยภาพของ ตนเอง นอกจากนั้นการสร้างเสริมสุขภาพยังเป็นการให้ อำนาจและการตัดสินใจด้านสุขภาพและดำเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ รวมทั้ง จัดระบบเพื่อนำแหล่งประโยชน์ต่าง ๆ ในชุมชน ทั้ง ด้านการวิชาการความรู้สังคม และสิ่งแวดล้อมมาใช้ เพื่อเกื้อกูล ให้บุคคลมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและได้รับ การสร้างเสริมที่เหมาะสมตามวัย ซึ่งกระบวนการ สร้างเสริมสุขภาพจะเกิดขึ้นได้จากปัจจัยที่มา 2 ประการ คือ ประการแรกจากบุคคลอื่นภายนอกที่ ช่วยกระตุ้นส่งเสริม เช่น เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือ บุคลากรทีมสุขภาพ บิดา มารดา หรือผู้ดูแลใน ครอบครัว และประการที่สองเกิดขึ้นจากแรงจูงใจ ภายในตนเองที่ต้องการบรรลุความสุขสูงสุดของชีวิต ซึ่งเป็นสิ่งที่ปรารถนามากที่สุดและจะเกิดอยู่ยั่งยืน
  คณะกรรมการมัสยิดบ้านคลองอ้ายโตได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย 3 กลุ่มวัย ได้แก่ วัยเรียนจำนวน 238 คน วัยทำงานจำนวน  1,433  คน และวัยผู้สูงอายุจำนวน 358 คน โดยการเชิญชวนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักในการดูแลสุขภาพ เพื่อการมีสุขภาพดี อัน เป็นพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญในการออกกำลังกายสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง (2) เพื่อสร้างความต่อเนื่องและยั่งยืนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ไปสู่พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการ (2) กิจกรรมประชุมให้ความรู้กลุ่มย่อยประจำเดือนๆละ 1 ครั้งพร้อมทั้งร่วมกันออกกำลังกายกาย (3) กิจกรรมจัดนิทรรศการให้ความรู้หลังการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh