กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการโรงเรียนสีขาวปลอดบุหรี่ โรงเรียนบ้านอุไร อำเภอละงู จังหวัดสตูล ได้รับอุดหนุนงบประมาณโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 42,932 บาท ซึ่งโรงเรียนบ้านอุไรได้ดำเนินงานโครงการ ตั้งแต่ มิถุนายน 2562 ถึง กันยายน 2562 โดยมีกลุ่มเป้าหมายพื้นที่ คือ โรงเรียนบ้านอุไร ผู้ปกครอง นักเรียน คณะครู และบุคลากรโรงเรียนบ้านอุไร ปีการศึกษา 2562 มีวัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดนักสูบหน้าใหม่ในโรงเรียนและชุมชน และเพื่อให้โรงเรียนและสถานที่ในชุมชนเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ ซึ่งมีรายละเอียดกิจกรรมพอสรุปได้ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 แต่งตั้งคณะทำงานด้านการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในโรงเรียน

  • โรงเรียนมีคณะทำงานด้านการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในโรงเรียน เป็นลายลักษณ์อักษร โดยคณะทำงานประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ครู ตัวแทนผู้ปกครอง และสารวัตรนักเรียน
  • คณะทำงานด้านการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในโรงเรียน มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์และวางแผนการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้แก่ ครู นักเรียน เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ พิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดอื่นๆ

  • ครู และนักเรียน ร้อยละ 90 มีความรู้เกี่ยวกับการสูบบุหรี่และพิษภัยของบุหรี่
  • ผู้ปกครองนักเรียน ร้อยละ 45 ลดอัตราการสูบบุหรี่และเลิกบุหรี่ได้

กิจกรรมที่ 3 เดินรณรงค์ในชุมชน

  • นักเรียนแกนนำ รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ และจัดกิจกรรมอย่างหลากหลายภายในโรงเรียน เช่น การเดินรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมบนเวทีหน้าเสาธง แจกแผ่นพับความรู้

กิจกรรมที่ 4 จัดทำป้ายนโยบายโรงเรียนปลอดบุหรี่

  • โรงเรียนมีกฎกติกาของโรงเรียนปลอดบุหรี่
  • โรงเรียนประกาศนโยบายโรงเรียนเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฏหมาย เป็นลายลักษณ์อักษร การติดประกาศในบริเวณที่เห็นเด่นชัด
  • โรงเรียนประกาศเขตโรงเรียน "โรงเรียนเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฏหมาย"
  • ผู้ปกครองนักเรียนร้อยละ 80 ให้ความร่วมมือในการดูแลบุตรหลายให้ห่างไกลบุหรี่

ข้อเสนอแนะ

  • ควรดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องทุกปี
  • ควรมีกิจกรรมอบรม ให้ความรู้ เพิ่มทักษะ และสร้างความตระหนัก ให้ผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตรหลาน ให้เป้นไปตามหลักจิตวิทยา และพัฒนาการสมวัย
คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
  1. นักเรียน ผู้ปกครองขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ
  2. ผู้ปกครองขาดความรู้ ความตระหนักในการเลี้ยงดูบุตรหลานให้เป็นไปตามหลักจิตวิทยาและพัฒนาการสมวัย
เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ