กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 แต่งตั้งคณะทำงานด้านการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในโรงเรียน

  • โรงเรียนมีคณะทำงานด้านการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในโรงเรียน เป็นลายลักษณ์อักษร โดยคณะทำงานประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ครู ตัวแทนผู้ปกครอง และสารวัตรนักเรียน
  • คณะทำงานด้านการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในโรงเรียน มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์และวางแผนการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้แก่ ครู นักเรียน เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ พิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดอื่นๆ

  • ครู และนักเรียน ร้อยละ 90 มีความรู้เกี่ยวกับการสูบบุหรี่และพิษภัยของบุหรี่
  • ผู้ปกครองนักเรียน ร้อยละ 45 ลดอัตราการสูบบุหรี่และเลิกบุหรี่ได้

กิจกรรมที่ 3 เดินรณรงค์ในชุมชน

  • นักเรียนแกนนำ รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ และจัดกิจกรรมอย่างหลากหลายภายในโรงเรียน เช่น การเดินรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมบนเวทีหน้าเสาธง แจกแผ่นพับความรู้

กิจกรรมที่ 4 จัดทำป้ายนโยบายโรงเรียนปลอดบุหรี่

  • โรงเรียนมีกฎกติกาของโรงเรียนปลอดบุหรี่
  • โรงเรียนประกาศนโยบายโรงเรียนเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฏหมาย เป็นลายลักษณ์อักษร การติดประกาศในบริเวณที่เห็นเด่นชัด
  • โรงเรียนประกาศเขตโรงเรียน "โรงเรียนเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฏหมาย"
  • ผู้ปกครองนักเรียนร้อยละ 80 ให้ความร่วมมือในการดูแลบุตรหลายให้ห่างไกลบุหรี่

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดนักสูบหน้าใหม่ในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : - ครู และนักเรียน ไม่น้อยว่าร้อยละ 80 มีความรู้ เกี่ยวกับการสูบบุหรี่และพิษภัยของบุหรี่ - ผู้ปกครองนักเรียน ร้อยละ 40 ลดอัตราการสูบและเลิกสูบบุหรี่ได้
40.00 45.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้โรงเรียนและสถานที่ในชุมชนเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่
ตัวชี้วัด : - โรงเรียนและสถานที่ในชุมชน เป็นเขตปลอดบุหรี่ 100 %
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 78 78
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 78 78
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการโรงเรียนสีขาวปลอดบุหรี่ โรงเรียนบ้านอุไร อำเภอละงู จังหวัดสตูล ได้รับอุดหนุนงบประมาณโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 42,932 บาท ซึ่งโรงเรียนบ้านอุไรได้ดำเนินงานโครงการ ตั้งแต่ มิถุนายน 2562 ถึง กันยายน 2562 โดยมีกลุ่มเป้าหมายพื้นที่ คือ โรงเรียนบ้านอุไร ผู้ปกครอง นักเรียน คณะครู และบุคลากรโรงเรียนบ้านอุไร ปีการศึกษา 2562 มีวัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดนักสูบหน้าใหม่ในโรงเรียนและชุมชน และเพื่อให้โรงเรียนและสถานที่ในชุมชนเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ ซึ่งมีรายละเอียดกิจกรรมพอสรุปได้ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 แต่งตั้งคณะทำงานด้านการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในโรงเรียน

  • โรงเรียนมีคณะทำงานด้านการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในโรงเรียน เป็นลายลักษณ์อักษร โดยคณะทำงานประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ครู ตัวแทนผู้ปกครอง และสารวัตรนักเรียน
  • คณะทำงานด้านการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในโรงเรียน มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์และวางแผนการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้แก่ ครู นักเรียน เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ พิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดอื่นๆ

  • ครู และนักเรียน ร้อยละ 90 มีความรู้เกี่ยวกับการสูบบุหรี่และพิษภัยของบุหรี่
  • ผู้ปกครองนักเรียน ร้อยละ 45 ลดอัตราการสูบบุหรี่และเลิกบุหรี่ได้

กิจกรรมที่ 3 เดินรณรงค์ในชุมชน

  • นักเรียนแกนนำ รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ และจัดกิจกรรมอย่างหลากหลายภายในโรงเรียน เช่น การเดินรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมบนเวทีหน้าเสาธง แจกแผ่นพับความรู้

กิจกรรมที่ 4 จัดทำป้ายนโยบายโรงเรียนปลอดบุหรี่

  • โรงเรียนมีกฎกติกาของโรงเรียนปลอดบุหรี่
  • โรงเรียนประกาศนโยบายโรงเรียนเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฏหมาย เป็นลายลักษณ์อักษร การติดประกาศในบริเวณที่เห็นเด่นชัด
  • โรงเรียนประกาศเขตโรงเรียน "โรงเรียนเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฏหมาย"
  • ผู้ปกครองนักเรียนร้อยละ 80 ให้ความร่วมมือในการดูแลบุตรหลายให้ห่างไกลบุหรี่

ข้อเสนอแนะ

  • ควรดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องทุกปี
  • ควรมีกิจกรรมอบรม ให้ความรู้ เพิ่มทักษะ และสร้างความตระหนัก ให้ผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตรหลาน ให้เป้นไปตามหลักจิตวิทยา และพัฒนาการสมวัย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh