กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.ได้มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓ อ๒ ส ในกลุ่มที่มีรอบเอวเกินมาตรฐาน จำนวน ๑๐๐ คน มีการสาธิตการทำเมนูอาหารสุขภาพ การออกกำลังกายที่เหมาะสม
(ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ปี ๒๕๖๑ จำนวน ๑๓ ราย ปี๒๕๖๒ รายใหม่จำนวน ๒๑ ราย , ผู้ป่วยโรคเบาหวาน รายใหม่ปี ๒๕๖๑ จำนวน ๕ ราย ปี ๒๕๖๒ จำนวน ๙ ราย) ๒. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ๙๓ ราย ได้รับการตรวจจอประสาทตา จำนวน ๖๓ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖๗.๗๔ และได้รับการตรวจเท้า ๘๔ ราย คิดเป็น ร้อยละ ๙๐.๓๒ ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูล - เป้า ๘๔๔ คน ได้ตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน จำนวน ๗๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๘๙ - เสี่ยงเบาหวาน ๒๓๓ คน ป่วยรายใหม่ ๔ คนคิดเป้นร้อยละ ๑.๗๒ - เสี่ยงความดันโลหิตสูง ๕๑ ราย ป่วยรายใหม่ ๑ ราย คิดเป้นร้อยละ ๑.๙๖ ๒. ประชากรอายุ ๑๘-๕๙ ปี ได้รับการวัดรอบเอว - ได้รับการวัด ๖๗๗ คน ปกติ ๒๔๒ คน คิดเป้นร้อยละ ๓๕.๗๕ - ได้รับการวัด ๖๗๗ คน รอบเอวเกิน ๔๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๒๕ - ได้รับการอบรม ๓อ๒ส จำนวน ๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๙๘ ๓. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่คุมน้ำตาลได้ดี ผู้ป่วย ๙๓ คน ได้รับการตรวจเลือดประจำปี ๖๘ คน คุมได้ดี ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๐๕ ๔. ร้อยละของผู็ป่วยความดันโลหิตสูงที่คุมความดันได้ดี ผู้ป่วย ๒๖๑คน ได้วัดความดัน ๒ ครั้ง ในปี ๒๓๗ คุมได้ดี ๑๘๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๒๖ ๕. ผู็ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า
ผู็ป่วย ๙๓ คน ได้รับการตรวจ ๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๓๒

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและสามมารถดูแลตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคความดันและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : -อัตราป่วย DM,HT รายใหม่ลดลงร้อยละ 5 -กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 70 -คัดกรอง HT,DM, ร้อยละ 90
0.00 1.73

ประชากรอายุ 35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดครองเบาหวานความดัน 784 คน คิดเป็นร้อยละ 92.89 มีผู็ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 4 คน คิดเป็น ร้อลบะ 1.72 ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 1 คน คิดเป้นร้อยละ 1.96

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : -ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมากกว่าร้อยละ40 -ผู้ป่วยHT ควบคุมความดันโลหิตสูงมากกว่าร้อยละ50 -ผู้ป่วย DM ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า ร้อยละ 100
0.00 15.05

ผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 68 คน คุมน้ำตาลได้ดีจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 15.05
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 261 คน คุมระดับความดันโลหิตได้ดีจำนวน 186 ราย คิดเป้นร้อยละ 71.26

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและสามมารถดูแลตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคความดันและเบาหวาน (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการของประชาชน 35 ปี ขึ้นไปในการคัดกรองโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง -วัดความดันโลหิต -ตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว (2) 2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงที่มีรอบเอวเกินมาตรฐาน (3) 3. การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (4) ตรวจคัดกรองความเสี่ยงในผู้ป่วยโรคเบาหวาน( ตา ไต เท้า)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อการปรับเปลียนพฤติกรรมที่ยั่งยืน เห็นผลชัดเจนต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh