กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

อัตราป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงรายใหม่พบ ๑๒ ราย กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๕๕ คัดกกรองมะเร็งปากมดลูกได้ ร้อยละ ๖๕ คัดกรองเบาหวาน ความดันได้ ๙๘.๑๖ มะเร็งเต้านม ๘๖.๒๕ ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ ๓๕ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ควบคุมความดันโลหิตร้อยละ ๔๕

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ
ตัวชี้วัด : ๑.อัตราป่วย DM,HT รายใหม่ลดลงร้อยละ ๕ ๒.กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ ๗๐ ๓.คัดกรอง DM,HT มะเร็งเต้านม ร้อยละ ๙๐ ๔.คัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๖๐
0.00 1.00

อัตราป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงรายใหม่พบ ๑๒ ราย กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๕๕ คัดกกรองมะเร็งปากมดลูกได้ ร้อยละ ๖๕

2 ข้อที่ ๒.เพื่อให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ๑.ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมากกว่าร้อยละ ๔๐ ๒.ผู้ป่วย HT ควบคุมความดันโลหิตสูงมากกว่า ร้อยละ ๕๐
0.00 98.16

คัดกรองเบาหวาน ความดันได้ ๙๘.๑๖ มะเร็งเต้านม ๘๖.๒๕ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกได้ ร้อยละ ๖๕ ผู็ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีร้อยละ ๓๕ ผู็ป่วยความดันโลหิตสูงร้อยละ ๔๕

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ (2) ข้อที่ ๒.เพื่อให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน กลุ่มเสี่ยง (2) ๒.การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (3) ๓.อบรมเรื่องมะเร็งปากมดลูก,มะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมค่อนข้างล่าช้าเนื่องจากกิจกรรมในการดำเนินการหลายกิจกรรม กับภารกิจที่หลากหลาย ทำให้การดำพเนินกิจกรรมล่าช้า

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh